Magnet Generator .... พลังงาน Free ... ทางเลือกยุคน้ำมันแพง

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Pew Pew, 10 กรกฎาคม 2008.

  1. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    เท็จ-จริง อย่างไรก็ไม่ทราบเหมือนกัน ผมไม่สนใจหรอกครับ

    อะไรผ่านมา แล้วก็ผ่านไป มี เกิด ก็มีดับ

    ผมสนใจแต่เรื่องการจุดประกายแนวความคิดต่างๆ ถ้าเราสะสมมุมมองหลายๆด้าน แล้วนำมันมาประกอบเข้าด้วยกัน สักวันหนึ่งมันจะเห็นแนวทางบางอย่าง ซึ่งมันจะสำเร็จหรือไม่ ก็ช่างมัน แต่สิ่งที่ได้คือ ความคิดสร้างสรรค์ ไม่ใช่ รอผู้อื่นคิดแล้วเราทำตามไปเรื่อยๆ ความคิดสร้างสรรค์มันจะค่อยๆเลือนลาง แล้วก็กลายเป้นเหมือนหุ่นยนต์ คิดอะไรไม่ค่อยจะเป็น ซึ่งวผมเห็นมาเยอะกับคนต่างชาติ ในประเทศที่เจริญมากๆ เช่น ชาวญี่ปุ่น และสิงคโปร์ วันๆ รอแต่นโยบายรัฐบาล ปีนี้ เราต้องออกเดทกันมากขึ้น เพราะ ทำงานกันมากเกินไป ประชากรคิดแต่รายได้และเงินเก็บ จนไม่คิดสร้างครอบครัว อัตราการเกิดน้อยเกินไป อะไรทำนองนี้...

    อยากให้คนไทย อ่านไป คิดไป ผิดถูกก็ต้องใช้วิจารณญานช่วยด้วยครับ

    แต่ก็รู้สึกว่า โชคยังดีนะ ที่เขาไม่ให้ก๊อปมาตัดแปะ พอไปอ่านในห้องที่เขาวิจารณ์กัน ก็น่าคิดอยู่เหมือนกัน คนเราหาวิธีสร้างชื่อเสียงและรายได้ด้วยวิธีแปลกๆ ก็มีมากขึ้นทุกที ขอให้เพื่อนๆอย่าไปเชื่อตามง่ายๆก็แล้วกัน อ่านทุกเรื่องก็คิด วิเคราะห์มากๆหน่อยนะครับ
     
  2. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    <TABLE height=400 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" background=images/ga-top.jpg border=0><TBODY><TR><TD class=IL2 height=292>
    อันนี้ก็เป็นข่าวเกี่ยวกับเรื่องพลังงานฟรีอีกอัน ลองไปอ่านกันดูนะครับ พอดีงานเข้ามามาก เลยไม่มีเวลาอ่าน แต่ดูน่าสนใจดี เลยก๊อปมาแปะไว้ก่อน

    พลังงานฟรี ปริมาณไม่
    จำกัดได้ถูกพัฒนาขึ้นแล้ว
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=19>
    [FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]โดยพี่ประทับจิตชายแมทธิว เซอร์พิส ทัสมาเนีย ออสเตรเลีย (ต้นฉบับเป็นภาษาอังกฤษ)[/FONT]​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    บริษัทของชาวไอริส ชื่อว่า สเทรียน(Steorn)ได้พัฒนาระบบขึ้นมาระบบหนึ่ง ซึ่งสามารถผลิตพลังงานได้ฟรี ระบบนี้ไม่ต้องป้อนเชื้อเพลิง ไม่มีการเผาไหม้ และดังนั้นจึงไม่มีการปลดปล่อย(ก๊าซจากการเผาไหม้) และให้พลังงานเป็นปริมาณไม่จำกัดสำหรับรถยนต์และอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่ต้องการพลังงาน เทคโนโลยีนี้ได้ถูกพัฒนาจนสำเร็จลงได้โดยนักฟิสิกส์และบริษัทต่าง ๆ จำนวนมาก
    การค้นพบของพวกเขาขัดแย้งกับกฏที่เป็นรากฐานมากที่สุดกฏหนึ่งทางฟิสิกส์ ซึ่งเป็นหลักการที่มีชื่อว่า "การอนุรักษ์พลังงาน" ซึ่งกล่าวว่า "พลังงานไม่สามารถถูกสร้างขึ้นหรือถูกทำลายได้ มันสามารถทำได้เพียงแค่เปลี่ยนรูปแบบเท่านั้น" ตัวเทคโนโลยีเองนั้นมาจากหนึ่งในโครงงานของบริษัท ซึ่งเริ่มต้นขึ้นเมื่อปี 2546 โดยมีจุดประสงค์ที่จะปรับปรุงประสิทธิภาพของไมโครทรานสฟอร์เมอร์ (ทรานสฟอร์เมอร์หรือหมอแปลงใช้สำหรับแปลงแรงดันไฟฟ้าระหว่างสูงและต่ำ) ในตอนเริ่มต้นของโครงงาน ทางบริษัทพบว่า ด้วยรูปแบบของทางหม้อแปลงรูปแบบหนึ่งจะทำให้มันมีประสิทธิภาพมากกว่า 100% ซึ่งหมายความว่า มันให้พลังงานออกมามากกว่าที่มันรับเข้าไป หลังจากนั้นมา เทคโนโลยีก็ได้ถูกพัฒนาต่อไปเรื่อย ๆ
    ในปัจจุบันนี้ สเทรียนได้เป็นที่ท้าทายให้กลุ่มนักวิทยาศาสตร์เข้ามาพิสูจน์ผลของมัน โฆษณาในการท้าทายอันหนึ่ง ซึ่งอยู่ในวารสารทางด้านเศรษฐศาสตร์ระบุถึงการค้นหาผู้ชี้ขาดซึ่งเป็นนักฟิสิกส์เชิงทดลองที่เหมาะสมจำนวน 12 คน เพื่อที่จะกำหนดการทดสอบที่ต้องการ ศูนย์ที่ทำการทดสอบ การตรวจจับค่าสำหรับการวิเคราะห์และการจัดตีพิมพ์ผล ทางบริษัทเชื่อว่า อันที่จริงอุปสรรคใหญ่นั้นคือ การทำให้สาธารณชนทั่วไปเชื่อว่า มันเป็นไปได้ที่เทคโนโลยีอยู่ที่นี่เรียบร้อยแล้ว
    อีกกลุ่มหนึ่งได้อ้างว่า พลังงานฟรีนั้นมีอยู่และเรียกตัวมันเองว่า 'โครงงานเปิดเผย'(The Disclosure Project - Home Page), ซึ่งประกอบด้วยทหารมากกว่า 400 คน, รัฐบาลและกลุ่มผู้เฉลียวฉลาด ได้มาร่วมเป็นพยานในประสบการณ์ครั้งแรกเกี่ยวกับยูเอฟโอ, อีที, อีทีเทคโนโลยี และได้ปกปิดไว้เพื่อรักษาให้ข้อมูลนี้เป็นความลับ ทางกลุ่มได้อ้างว่า รัฐบาลของสหรัฐอเมริกาได้รับเทคโนโลยีพลังงานฟรีมาจากมนุษย์ต่างดาว และเก็บมันไว้เป็นความลับไม่ให้คนทั่วไปได้รู้ จุดประสงค์ของกลุ่มนี้คือ นำเทคโนโลยีดังกล่าวสู่สาธารณะชนเพื่อช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เริ่มปรากฏชัดขึ้นของโลก คนทั้ง 400 คนได้บันทึกประสบการณ์ของพวกเขาลงบนวีดีโอเทป และมีหลายคนที่อยากจะไปเป็นพยานต่อหน้าสภาคองเกรสของสหรัฐ
    ข้อมูลดังกล่าวข้างต้น สอดคล้องกับความเห็นของอาจารย์ซึ่งได้กล่าวไว้ในเทปทั้งที่ฟลอริด้าและที่ลอนดอนว่า ในไม่ช้าเราจะมี "บางอย่าง นอกจากนี้" ซึ่งเกี่ยวข้องกับพลังงานและไม่จำเป็นต้องพึ่งพาไฟฟ้า
    จากการที่โลกได้เคลื่อนที่ลึกเข้าไปในช่วงแห่งยุคทอง และจิตสำนึกแห่งดวงดาวยกระดับขึ้น เทคโนโลยีดังกล่าวจะเป็นสายทางหลักอย่างแน่นอน และโลกที่เรารู้จักจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว[​IMG]
     
  3. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ผมมองว่าประเด็นคือเนื้อหา ในองค์ความรู้ว่า มีความเป็นไปได้ แค่ไหน บางครั้งเราคิดในมิติเดียวไม่ได้นำเอา เทคโนโลยี่อื่นมาผสมผสาน ให้มีการทำงานต่อเนื่องกัน จนเกิดผลสัมฤทธิ์ขึ้นมาได้ นั่นคือเกิดพลังงานที่สะอาดในราคาถูก

    หรือพลังงานฟรีที่สะอาด ในกรณีของพลังงานส่วนเกินออกมาได้ เกินพลังงานอินพุท

    เรื่องพลังงาน นั้นผมมีมุมมองหนึ่งให้พวกเราได้คิดกัน

    พลังงานส่วนใหญ่ที่เราใช้อยู่ขณะนี้ เป็นการประดิษฐ์จากประเทศในแถบอากาศหนาว แดดน้อย อุณหภูมิต่ำ

    ดังนั้น พลังงานส่วนเกินหรือเวสส์ลอสของการคิดค้นพลังงานอันเป็นองค์ความรู้ มักคายหรือเหลือเป็นพลังงานความร้อนซึ่ง เขานำไปใช้ได้


    ส่วนไทยเราเป็นเมืองร้อน พอพลังงานส่วนเกิน คายออกมาก็ยิ่งร้อนเข้าไปอีก ร้อนจนไม่รู้จะไปใช้อะไร

    แต่หากเราคิดย้อนวัฏฏจักรพลังงานใหม่ โดยอาศัยพลังงานฟรีเช่นจาก ความร้อนของแสงอาทิตย์ซึ่งไทยเรามีแต่ฤดูร้อนจนถึงร้อนที่สุดแล้ว

    มาประดิษฐ์ให้ เกิดเวสส์ของพลังงานในรูป ความเย็นดู โดยอาศัยหลัก ฮีตเอกซ์เชนจ์ การแลกเปลี่ยนความร้อนด้วยสารปรับอากาศ ซึ่ง มีจุดเดือดต่ำ แรงดันสูง มาเพิ่มความร้อนด้วยแผงรับความร้อนจากแสงอาทิตย์ซึ่งทำจากท่อทองแดงขดพ่นสีดำ ใส่ในกล่องปิดกระจกเพื่อเพิ่มความร้อนให้สูงขึ้นไปที่ 70-75 องศา (ใช้สารทำความเย็น ทดแรง แทนแรงดันไอน้ำ)

    จนเกิดแรงดัน ไปดันไฮโดรลิค(ใช้ไฮโดรลิคทดแรงเพิ่มแรงดันแรงผลักให้มากขึ้น) ให้ไปผลักดึงรอก (ใช้รอกทดแรง) เพื่อให้รอก หมุนไดนาโมเพื่อผลิตไฟฟ้า อีกที ก๊าซส่วนเกินย้อนกลับไปสู่ถังเก็บแรงดันเพื่อ หมุนไดนาโมอีกชุดหนึ่ง และให้ก๊าซที่แรงดันลด ไปถ่ายเทแลกเปลี่ยนเป้นพลังงานความเย็นใน แอร์ ในตู้เย็น ในห้องเย็น ในห้องแช่เย็นพืชผลการเกษตร ตามสเกลของเครื่องครับ


    ดังนั้นเราจะได้

    -พลังงานไฟฟ้าจากการ ทดเพิ่มแรงดัน โดยเป็นการเพิ่มพลังงานเป็นพลังงานเชิงกล หมุนไดนาโม

    -ได้ความเย็น จากวัฏฏจักรการแลกเปลี่ยนความร้อน เป็นแอร์ เป็นห้องเย็น

    จากที่ต้องจ่ายค่าไฟเป็นค่าเปิดแอร์ กลายเป็นไม่ต้องเสียเงินแต่ได้พลังงานฟรีอีก

    คิดเล่นๆดูว่า หาก บ้านเรา มีหลังคา ที่ ทำความเย็น เป็นห้องแอร์ ทุกห้อง ตู้เย็นตู้แช่ฟรี และยังทำน้ำร้อนใช้ได้ฟรี มีไฟฟ้าเหลือเพื่อใช้ในบ้านอีก เหลือเกิน จนสามารถขายไฟฟ้ากลับให้การไฟฟ้าได้ในช่วงเวลาพีคไทมม์อันเป็นช่วงที่ค่าไฟฟ้าแพงได้อีกเดือนละ 20,000-50,000 บาท


    คิดเล่นๆว่า มีโรงเก็บพืชผลเกษตรชุมชน ที่แช่เย็นพืชผล ไม่ให้เน่าเสียได้ ฟรี มีไฟฟ้าขายให้ชุมชนในราคาถูกได้ มีพลังงานเหลือพอทำโรงสีชุมชน การแปรรูปพืชผลการเกษตรได้อีก จุดสำคัญ ผลิตไฟฟ้าได้พอเพียงในชุมชน มีอยู่ทั่วประเทศ ทุกตำบล

    ไม่ต้องสร้างโรงไฟฟ้า ขนาดใหญ่หรือโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ไม่มีมลภาวะเพราะเป็นระบบปิด ไม่มีการเผาไหม้ ไม่มีการคายคาร์บอนไดออกไซด์ ไม่ทำให้โลกร้อน เพราะ คายแต่ความเย็นออกมา

    เรียกว่าเอาความเย็นเหลือเกินไปทำโรงเรือนปลูกพืชเมืองหนาวราคาแพงได้อีก

    ยิ่งใช้โลกยิ่งเย็น โดยเฉพาะประเทศในเส้นศูนย์สูตรอย่างไทยเรา

    น่าสนใจไหม

    มาจุดประกายปัญญากันครับ

    หากเราคิดเพื่อมวลมนุษยชาติ ความรู้จะกว้างขวาง และไม่มีผลกระทบด้านลบ

    แต่หากเราคิดด้วยความโลภจะเป็นความรู้ที่นำไปทำลายตนเองอย่างที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบันนี้ครับ
     
  4. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    คุณคณานันท์ หมายถึง ระบบทำความเย็นพลังงานแสงอาทิตย์ หรือพวกตู้เย็นพลังงานแสงอาทิตย์ หรือเปล่าครับ ? ไทยเราก็ทำได้แล้วครับ นี่เลย..

    ระบบตู้เย็นพลังงานแสงอาทิตย์แบบดูดกลืน
    (Solar Powered Absorption Refrigerator)

    เป็นระบบที่ลีโอนิคส์เป็นผู้ทำการออกแบบและติดตั้งพร้อมวางระบบเพื่อใช้เป็นเครื่องทำความเย็นตู้เก็บผักและผลไม้ หรือเพื่อประโยชน์ในการเก็บยารักษาโรคหรือวัคซีนต่างๆ สำหรับใช้ในชุมชนที่ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง
    ตู้เย็นพลังงานแสงอาทิตย์แบบดูดกลืนความร้อนชนิดแอมโมเนียน้ำ เป็นระบบที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์มาทำการแปลงเป็นพลังงานไฟฟ้าและเก็บไว้ที่แบตเตอรี่ และเมื่อมีการจ่ายพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ให้กับฮีตเตอร์ (Heater) ฮีตเตอร์ก็จะทำการแปลงเป็นพลังงานความร้อนและนำพาความร้อนที่ได้มาทำความเย็นอีกครั้ง ระบบตู้เย็นพลังงานแสงอาทิตย์แบบดูดกลืน เป็นระบบที่ไม่มีชิ้นส่วนเคลื่อนไหวใดๆ จึงทำให้เป็นระบบที่มีความทนทานและไม่ต้องการการบำรุงรักษา เหมาะแก่การนำไปใช้ในพื้นที่ห่างไกล เช่น ป่าลึก เกาะ ภูเขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามศูนย์อนามัยและสถานีวิจัยต่างๆ
    [​IMG]
    ระบบนี้ได้มีการติดตั้งและใช้งานจริงไปแล้วในโครงการสวนพลังงาน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
    [​IMG]

    ที่มา :
     
  5. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807

    แบบทำเองง่ายๆ ก็มีนะครับ

    สาวน้อยสมองใส ประดิษฐ์ตู้เย็นเพื่อคนจน



    [​IMG]เอมิลี่ คัมมินส์ เป็นสาวชาวอังกฤษวัย 21 ปี ถึงอายุเพียงแค่นี้ เธอก็สร้างชื่อเสียง ด้วยการประดิษฐ์ตู้เย็นพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับคนยากจนได้

    คัมมินส์ กล่าวว่า "ตู้เย็นนี้เป็นตู้เย็นแบบพอเพียง ใช้เก็บอาหารที่จำเป็นอย่างนมและเนื้อสัตว์ได้นานหลายวัน ไม่ต้องใช้ไฟฟ้า อุณหภูมิอยู่ที่ 6 องศาเซลเซียส ด้านในทำด้วยเหล็ก ด้านนอกทำจากไม้หรือพลาสติกก็ได้ นับเป็นวัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น"

    สาวนักประดิษฐ์ผู้นี้ยังเล่าให้ฟังว่า "เมื่อตอน 4 ขวบ ฉันได้ค้อนเป็นของขวัญ นับแต่นั้นเป็นต้นมา ก็ใช้เวลาว่างประดิษฐ์สิ่งของต่างๆ ในโรงรถ เหตุที่ฉันประดิษฐ์ตู้เย็นพอเพียง เพราะเห็นว่า เป็นสิ่งที่ผู้คนขาดไม่ค่อยได้"

    ในช่วง 5 เดือนที่ผ่านมา คัมมินส์เดินทางไปนามิเบีย เพื่อสาธิตตู้เย็น จนชาวบ้านเรียกเธอว่า "สาวตู้เย็น" ส่วนผลงานอื่นที่เข้าตาจนได้รับรางวัลนั้น มีเครื่องบีบยาสีฟันสำหรับผู้ป่วยโรคไขข้ออักเสบ เครื่องใส่น้ำสำหรับคนยากคนจน

    แม้คัมมินส์ดูจะเป็นผู้ที่มีความสามารถทางวิศวกรรม แต่เธอเลือกที่จะเรียนต่อด้านการจัดการธุรกิจที่มหาวิทยาลัยลีดส์ เพราะเห็นว่าเธอมีคุณสมบัติไม่ครบ ปีที่แล้วคัมมินส์ยังมีโอกาสพบกับสมเด็จพระราชินีนาถ อลิซาเบธที่ 2 ที่พระราชวังบักกิ้งแฮม ในฐานะผู้หญิงที่ทรงเกียรติในวงการธุรกิจ

    ที่มา หนังสือพิมพ์ข่าวสด
     
  6. ZonesT

    ZonesT สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    4
    ค่าพลัง:
    +8
    อีกไอเดียน่าสนใจ

    ไปเห็นมาคิดว่าน่าสนใจดีครับ

    [ame="http://www.youtube.com/watch?v=CDntL4GZh0E"]YouTube - Stirling Engine[/ame]

    ซึ่งระบบนี้สามารถทำงานได้ในที่อุณหภูมิ ร้อนหรือเย็นก็ได้ ผมมีไอเดียแค่ว่าถ้าภายในกระบอกนั้น เราเก็บสารที่มีอุณหภูมิเย็นล้อมรอบด้วยสูญญากาศ (อย่างน้อยก็น่าจะเย็นได้นานๆ ^^) แล้วติดแม่เหล็กล้อมรอบจานหมุน น่าจะได้ระบบชาร์จไฟได้บ้างแหล่ะแต่คงต้องพัฒนาให้ได้ไฟเยอะๆ ก่อน หรือใครว่าไงครับ
     
  7. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    แนวคิด จาก เครื่องกลไอน้ำครับ

    ปกติเราใช้ความร้อน จากหม้อต้ม เชื้อเพลิง ถ่านหิน บ้าง ฟืนบ้าง
    ต้มน้ำ ในหม้อต้มให้กลายเป็นไอน้ำ ซึ่งต้องใช้พลังงานความร้อนระดับ อุณหภูมิ หลายร้อยองศา


    สิ่งที่เราต้องการก็คือ "แรงดันจากไอน้ำ" ซึ่งมีหน่วยแรงดันหลายบาร์ (แรงดันบรรยากาศ) เพื่อเอา แรงกล แรงผลักของไอน้ำ ไปหมุนไดนาโมบ้าง หมุนล้อหัวรถจักรรถไฟไอน้ำบ้าง


    แต่ ระบบที่ว่า นี้เรา ใช้ประโยชน์จาก สารทำความเย็น จุดเดือดต่ำ มาช่วยเป็นตัวทด ทางเคมี

    นั่นคือ สารทำความเย็นนั้น จุดเดือดอยู่ที่ - 100 องศาลงไป ดังนั้น ความร้อนจากแผงความร้อนพลังแสงอาทิตย์ (ซึ่งเราอาจให้แผงชิ้นบนเป็นโซลาร์เซลล์ แต่ข้างล่างเป็น ท่อทองแดงขดวน ทาสีดำเพื่อดูดซับพลังงานความร้อนจากแสงแดดแสงอาทิตย์ ) ซึ่ง ทำความร้อนได้ 70-80 องศา ก็เพียงพอจะทำให้ สารความเย็น เดือดระเหย ขยายตัว จนเกิดแรงดันมากมาย เพียงพอ ไปใช้งานเชิงกลได้

    ได้แรงดัน เหมือน แรงดันไอน้ำ

    โดยที่เราไม่ต้องไปป้อน เชื้อเพลิง ที่เสียเงินให้มันเดือด เช่นถ่านหิน น้ำมันฟืน ไม่มีการเผาไหม้ ไม่มีมลภาวะ ไม่มีไอเสีย

    แรงดันที่ได้ ไปทดแรงด้วย รอกเกียร์ หรือคาน หรือไฮโดรลิค ต่อ เพื่อขยายพลังงานเชิงกลขึ้นอีก 5 หรือ 10 หรือ20 เท่า

    ดังนั้น ชั้นแรก เราได้พลังงานกลที่เกิดจากการทดแรง มหาศาล จากพลังงานฟรี ไร้การเผาไหม้ ไร้มลภาวะ ซึ่งอาจไปหมุนไดนาโมเพื่อปั่นกระแสไฟฟ้า ซึ่งสเกล ขนาดของเครื่องอาจ ใช้ในบ้าน หรือเป็นขนาดโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก ก็พอไหว

    ส่วนของแถมคือ

    ในช่วงที่ ก๊าซจากสารทำความเย็น หมดพลังงาน ในเชิงเเรงดันลง และเปลี่ยนสถานะ จากก๊าซมาเป็น ของเหลวนั้น มันจะดูดความร้อนจากบรรยากาศรอบๆตัว มาเพื่อเปลี่ยนสถานะ เพื่อเราเป่าลมผ่านท่อ เดินก๊าซ ก็จะได้ลมเย็น หรือ แอร์คอนดิชั่น ที่ไม่ต้องจ่ายพลังงานในการเดินคอมเพรซเซอร์แอร์ อันกินไฟฟ้ามาก แทบจะได้แอร์ฟรีเลย

    หากเราเดินท่อรอบห้องและปิดด้วยฉนวนกันความร้อน เราก็จะได้ห้องเย็นที่ไม่ต้องจ่ายค่าไฟฟ้า ครับ

    หากเย็นเกิน ไปอีก ความเย็นเหลือ เราก็ทำโรงเรือนไม้เมืองหนาวเอา หรือคายให้ อากาศในบ้านรอบๆเย็นขึ้น ให้โลกเราเย็นขึ้นอีกซักหน่อยก็ยังดี

    เริ่มน่าสนใจไหมครับ
     
  8. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ความคิด เข้าท่าดีครับ

    น่าจะมีผู้ที่มีความรู้ทางช่าง และมีทุนมากพอ มาอ่านเจอเข้า และลองนำไอเดียไปพัฒนาต่อนะครับ

    สำหรับผู้ไม่เก่งทางช่าง และ ทุนน้อยก็ ค่อยๆ ศึกษาทางอื่นๆ ต่อไปครับ

    ผมคิดว่าปัจจุบันนี้ อุปกรณ์เกี่ยวกับการนำพลังงานแสงอาทิตย์ พัฒนามาหลากหลายมากขึ้นเรื่อยๆ ราคาน่าจะถูกลงมาเรื่อยๆด้วย ก็เลยอยากทำความเข้าใจบ่อยๆ และมากๆหน่อย เพราะเป็นสิ่งที่เราเอื้อมถึงได้ง่ายที่สุด และใช้งานสาะดวกที่สุด

    มีข้อสงสัยอยู่นิดหน่อยว่า แบตเตอรี่ที่ใช้เก็บไฟ เคยได้ยินมาจากบางคนว่า ต้องใช้แบตเตอรี่ที่แตกต่างจากแบตเตอรี่ที่ใช้กับรถยนต์ และราคาก็แพงกว่าแบตเตอรี่รถยนต์ ไม่ทราบว่าใครพอจะมีข้อมูลบ้างไหมครับ ช่วยมาโพสบอกหน่อย ?

    How Solar Works

    The Solar Panels

    <META content=Word.Document name=ProgId><META content="Microsoft Word 12" name=Generator><META content="Microsoft Word 12" name=Originator><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Caraymond%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml" rel=File-List><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Caraymond%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx" rel=themeData><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Caraymond%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml" rel=colorSchemeMapping><STYLE><!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman","serif"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";}p {mso-style-unhide:no; mso-margin-top-alt:auto; margin-right:0cm; mso-margin-bottom-alt:auto; margin-left:0cm; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman","serif"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";}.MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; font-size:10.0pt; mso-ansi-font-size:10.0pt; mso-bidi-font-size:10.0pt;}@page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;}div.Section1 {page:Section1;}--></STYLE>
    Highly pure solar grade silicon crystals produce electricity when light falls on the surface of the crystal. The higher the solar radiation on the surface the greater the electrical energy produced. This is also termed the ‘Photo Voltaic’ effect or PV effect.
    [​IMG]
    <META content=Word.Document name=ProgId><META content="Microsoft Word 12" name=Generator><META content="Microsoft Word 12" name=Originator><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Caraymond%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml" rel=File-List><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Caraymond%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx" rel=themeData><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Caraymond%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml" rel=colorSchemeMapping><STYLE><!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman","serif"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";}.MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; font-size:10.0pt; mso-ansi-font-size:10.0pt; mso-bidi-font-size:10.0pt;}@page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;}div.Section1 {page:Section1;}--></STYLE>Day 4Energy Polycrystaline Panels
    <?XML:NAMESPACE PREFIX = O /><O:p></O:p>
    The Inverters

    <META content=Word.Document name=ProgId><META content="Microsoft Word 12" name=Generator><META content="Microsoft Word 12" name=Originator><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Caraymond%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml" rel=File-List><O:SMARTTAGTYPE namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:smarttags" name="place"></O:SMARTTAGTYPE><O:SMARTTAGTYPE namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:smarttags" name="country-region"></O:SMARTTAGTYPE><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Caraymond%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx" rel=themeData><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Caraymond%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml" rel=colorSchemeMapping><OBJECT id=ieooui classid=clsid:38481807-CA0E-42D2-BF39-B33AF135CC4D></OBJECT><STYLE>st1\:*{behavior:url(#ieooui) }</STYLE><STYLE><!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman","serif"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";}p {mso-style-unhide:no; mso-margin-top-alt:auto; margin-right:0cm; mso-margin-bottom-alt:auto; margin-left:0cm; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman","serif"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";}.MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; font-size:10.0pt; mso-ansi-font-size:10.0pt; mso-bidi-font-size:10.0pt;}@page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;}div.Section1 {page:Section1;}--></STYLE>
    The Inverter converts the electricity generated by the solar panels to the voltage of the supply network. <O:p></O:p>
    In <?XML:NAMESPACE PREFIX = ST1 /><ST1:COUNTRY-REGION w:st="on"><ST1:pLACE w:st="on">Australia</ST1:pLACE></ST1:COUNTRY-REGION> this is a voltage of 240 V ac at 50 Hz <O:p></O:p>
    The power produced by the panels is consumed by equipment and appliances within the household. Excess energy may be exported into the network. The electrical retailer pays the householder for exported energy. <O:p></O:p>
    The Inverter converts the electricity generated by the solar panels to the voltage of the supply network. This enables the power produced by the panels to be either consumed at source or exported into the network. The inverter will produce a voltage of 240 V ac at 50 Hz which is basic requirement for connection to networks in Australia.

    Below: An illustration of a grid connection system.
    [​IMG]

    <META content=Word.Document name=ProgId><META content="Microsoft Word 12" name=Generator><META content="Microsoft Word 12" name=Originator><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Caraymond%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml" rel=File-List><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Caraymond%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx" rel=themeData><LINK href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Caraymond%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml" rel=colorSchemeMapping><STYLE><!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman","serif"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";}p {mso-style-unhide:no; mso-margin-top-alt:auto; margin-right:0cm; mso-margin-bottom-alt:auto; margin-left:0cm; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman","serif"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";}.MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; font-size:10.0pt; mso-ansi-font-size:10.0pt; mso-bidi-font-size:10.0pt;}@page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;}div.Section1 {page:Section1;}--></STYLE>
    Sola Direct also designs and installs "stand alone" solar systems with battery storage and hybrid systems which combine wind generation and diesel generation. <O:p></O:p>
    Below: An illustration of a stand alone system with battery storage.
    [​IMG]


    <!--end content --><FORM action=#><LABEL></LABEL></FORM>



    <!--end navbar -->
    [​IMG] About Us | Contact Us | © 2009 Sola Direct. Website by Next Media & Design.[​IMG]
     
  9. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    แบตตารี่ที่ใช้เก็บไฟฟ้า จากพลังงานทดแทนนั้น มักใช้แบตตารี่แบบดีฟไซเคิ้ล เก็บกระแสสูงหน่อย และ มีการระเหย หรือคายไอกรด ออกมาน้อยกว่า ที่ใช้ในรถเนื่องจาก ต้องเก็บในตัวอาคาร อาจทำให้เกิดการระคายเคืองหรือเป็นพิษต่อผู้อยู่อาศัยในอาคารได้


    แต่ของไทยเราแบบลูกทุ่งหน่อย นิยมใช้เป็นแบตตารี่ของรถสิบล้อ มาต่อพ่วงเอา แต่ ไอกรดเพียบเลย

    ผมมองว่า หากเรานำไฟฟ้าที่ได้ไปหมุน มิเตอร์ของการไฟฟ้ากลับแล้วหักลบกลบหนี้กัน น่าจะดีกว่าตรงไม่เปลือง ค่าแบตตารี่

    และส่วนใหญ่ หากเป็นไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ เรามัก ผลิตไฟฟ้าได้ในช่วงพีคไทม์ ราคาไฟฟ้าแพง เราขาย

    ส่วนตอนมืด ช่วงออฟพีค ค่าไฟฟ้าถูกหน่อยเราซื้อ น่าที่จะคุ้มค่ากว่า ยกเว้นว่าเราจะวางระบบเพื่อเป็นไฟฟ้าสำรอง



    แต่ก็มีอีกระบบที่น่าสนใจ คือแทนที่จะเก็บไฟฟ้าหรือพลังงานในรูปแบตตารี่

    เขานำไปเก็บในรูปอากาศแรงดัน ในแอร์แทงค์แทน เวลาจะใช้ไฟฟ้าจึงปล่อยแรงดันลม ไปหมุนเจนเนอเรเตอร์ เพื่อปั่นไฟฟ้าอีกที ข้อดีคือ การเก็บ แทงค์มีอายุการใช้งานที่ 10 ปีขึ้นไป ขณะที่แบตตารี่ ชุดหนึ่ง ใช้ได้ 1.5- 3ปี ราคาชุดหนึ่งสำหรับปริมาณไฟฟ้าสูงๆ ก็เป็นเงินหลายมื่นบาท ต้องจ่ายทุก 2 ปี โหดเหมือนกัน
     
  10. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ขอบคุณครับ สำหรับข้อมูล น่าสนใจ

    แล้วเจ้าเครื่องเจนเนอเรเตอร์ที่ใช้พัลงงานลมนี้ กับ ตัวแท็งค์เก็บลม มันจะขนาดใหญ่เท่าไหร่ครับ พอจะมีภาพตัวอย่างให้ดูหรือเปล่าครับ เมื่อวานลอง search แล้ว ยังหาไม่เจอ แต่ก็มีข้อมูลใกล้เคียงแล้ว ถ้าคุณคณานันท์มีข้อมูลเอามาลงไว้ให้อ่านกันบ้างก็ดีนะครับ

    ส่วนตัวผม เคยคิดแต่เอาพลังงานแสงอาทิตย์มาสูบน้ำเก็บไว้ในแท็งค์ใหญ่ๆ สูงๆ เพื่อจะได้มีน้ำใช้ในยามแห้งแล้ง และปล่อยน้ำจากที่สูงผ่านเครื่องปั่นไฟจากพลังงานนน้ำ ลงมาทำระบบน้ำประปาชุมชน พร้อมทั้งได้พลังงานไฟฟ้ามาใช้

    ถ้าเป็นในพื้นที่ไม่ค่อยมีน้ำให้เก็บ ก็น่าจะใช้เก็บพลังงานลมอัดใส่ถังก็ดีเหมือนกันครับ
     
  11. CLUB CHAY

    CLUB CHAY เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    507
    ค่าพลัง:
    +1,412
    สำหรับผม ผมมองต่างไปที่แหล่ง "พลังงานอันมหาศาล" ที่ใครๆก็มองข้ามไปครับ
    นั่นคือ "ก๊าซชีวภาพ" ครับ และก็เป็นแหล่งก๊าซชีวภาพที่ใครๆก็มองข้ามอีกด้วย นั่นคือการนำเอา "มูลคน" มาทำก๊าซชีวภาพครับ เนื่องจากส่วนประกอบและคุณสมบัติของมูลคน ผมคิดว่าน่าจะได้ปริมาณก๊าซชีวภาพที่มีคุณภาพและปริมาณที่มากมายมหาศาลกว่ามูลสัตว์ครับ
    ลองคิดขั้นตอนดูครับ
    - เวลาเค้าดูดส้วมกัน เค้าจะคิดค่าดูด 600-1000 บาท แต่เราดูดให้ชาวบ้านฟรีๆกันไปเลย ซึ่งใครๆก็อยากให้เราไปดูดให้ฟรีๆอยู่แล้ว
    - กระบวนการหมักก็เหมือนการทำก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ทุกประการ แต่ตอนนี้ใครๆก็แย่งมูลสัตว์มาทำก๊าซชีวภาพกัน หรือเจ้าของฟาร์มเก็บไว้ทำกันเองหมดแล้ว
    - นำก๊าซชีวภาพที่ได้มาเดินเครื่องจักรไอน้ำ ปั่นกระแสไฟฟ้าขายให้กับการไฟฟ้า
    - ความคุ้มค่า มูลคนที่พร้อมจะให้คุณไปดูดฟรีๆ เท่าภูเขาแอฟเวอเรต ในกทม.หรือเมืองใหญ่ๆ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 ธันวาคม 2009
  12. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    หลักการเหมือนกับ รถพลังงานลม ที่อัดลมใส่ถึงในรถแล้วเอาแรงดันมาหมุนล้อให้วิ่งครับ

    แต่เราเอาลมใส่ถังอัดลมตามขนาดของปริมาณลม ปริมาณพลังงานที่เราอัดได้

    ของไทยเราเอง มีคนเอากังหันลมมาหมุนปั๊มลมโดยตรง เข้าถังเก็บลม แล้วเอาลมแรงดันที่เก็บมาหมุนเจนเนอร์เรตอร์ตาม เวลา ตามโหลดที่เราต้องการใช้ และลงข้อมูลไว้ในไทยรัฐ

    จากที่ทดลองทำ สูญเสียพลังงานต่ำและมีประสิทธิภาพสูงกว่า โซลาร์เซลล์ ครับ

    ถังลมที่เลือกใช้ เป็นของพูม่า ที่นิยมกันในการซ่อมรถยนต์ การพ่นสี เป็นต้น และใช้รอกหมุนปั๊มต่อตรงกับการหมุนของกังหันลม


    หากเราประยุกต์ใช้กับโซลาร์เซลล์ เอาไฟฟ้ากระแสตรงหมุนมอเตอร์ปั๊มลมเข้าถัง(อาจร่วมกับการหมุนของกังหัน หรือ จักรยานออกกำลังกาย ช่วยปั๊มลมเก็บพลังงานในถังลม)

    พอจะใช้เป็นไฟฟ้า ก็เอาลมมาหมุนเจนเนอร์เรเตอร์กระแสไฟฟ้าสลับ เพื่อไม่ให้เสียในการเปลี่ยนรูปกระแสตรงเป็นกระแสสลับ และลีคไปกับการเก็บในรูปแบตตารี่

    หวังว่าจะเป็นการจุดประกายแนวคิดใหม่ๆกันครับ
     
  13. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เป็นไอเดียที่ดีครับ ลองมาช่วยกันคิดดู

    -ขอสัมปทาน รถดูดส้วม

    -มีรายได้จากค่าบริการดูดส้วมทั่ว เมืองใหญ่ เป็นค่าขนส่ง ค่าพนักกงานบางส่วน ค่าสัมปทาน

    -เอามูลคนที่ได้มา หมักเป็นก๊าซชีวภาพ พร้อมโรงไฟฟ้าจากพลังงานก๊าซ อาจเป็นระบบ โคเจนเนอเรชั่น ผลิตไฟฟ้าและความร้อน

    หรือ ไตรเจนเนอเรชั่น ผลิตไฟฟ้า ความร้อน ไอน้ำ ความเย็น

    ได้ไฟฟ้า ขายไฟฟ้าให้เมืองต่างๆ

    -กากที่ได้ผลิตปุ๋ยชีวภาพ ได้รายได้ส่งเสริมการเกษตรอีก

    -ขาย คาร์บอนเครดิต ให้ต่างประเทศโลกที่หนึ่งในการลดเชื้อเพลิงฟอสซิล

    ผมเคยเขียนโปรเจ็คค์เล่นๆดู ปรากฏว่ารายได้ได้จากปุ๋ยเยอะกว่า

    กระสอบละ 700-1200 บาท

    ข้อดีคือช่วย ฟื้นฟูดินทั่วไทยให้ปราศจากสารเคมีให้ลดลง
     
  14. CLUB CHAY

    CLUB CHAY เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    507
    ค่าพลัง:
    +1,412
    ผมก็สงสัยมานานแล้วครับ
    แนวความคิดพลังงานทดแทนจากก๊าซชีวภาพก็มีมานานแล้ว แต่ทำไม "มูลคน" ถึงไม่มีการกล่าวถึงเลยครับ
    มูลคน มีข้อด้อยตรงไหนอีกหรือปล่าวครับ ที่นอกจากกลิ่นที่แรงกว่ามูลสัตว์
     
  15. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ความรังเกียจ ครับ คือเหตุผลสำคัญ ทั้งที่ เมื่อสมัยปู่ย่าตายายเรานั้น ท่านก้ใช้มูลคนนี่ล่ะ รดผัก รดต้นไม้ในสวน

    ลองจุดประกายความคิดของเราเองดูครับ โอกาสที่คนอื่นมองข้ามนี่ละครับ ที่ทำให้เกิดมหาเศรษฐีจากกองขยะมาแล้ว
     
  16. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    อ้อ ไหนๆ หากจะดูดมูลคนแล้ว บริการดูดเอา กากจากบ่อดักไขมันแถมมาด้วยครับ ปัจจุบันกฏหมายบังคับให้มีบ่อดักไขมันเพื่อ ไม่ให้เกิดฝ้าไขมันลงไปในแหล่งน้ำเพราะจะทำให้เป็นฟิลม์ขวางออกซิเจนในน้ำ ทำให้น้ำเน่าเสีย ปลาตาย


    แต่พอเราดูดกากไขมันที่ดักจากท่อน้ำทิ้ง ซึ่งดักไขมัน จากไขสบู่ ไขมันจากคนเวลาอาบน้ำ ไขมันจากอาหารเวลาล้างจาน เป็นไขมันปริมาณ ประมาณ 1-6 กิโลกรัม

    ไอ้กากไขมันนี้ล่ะเป็น สารประกอบชีวภาพที่ประกอบด้วย ไฮโดรคาร์บอน เป็นตัวพลังงาน เวลาไปหมักร่วมจะทำให้ก๊าซชีวภาพที่ได้เกิด พลังงานมากขึ้นไปอีก

    หรือจากที่ผมเคยพบ ของจริง เขาเอากากไขมันจากบ่อดักไขมัน มาสกัดเป็นไบโอดีเซลใส่รถ ให้ดูเลย


    ดังนั้นเรายังมีพลังงาน ที่คนมองข้ามและได้เกือบฟรี(มีค่าใช้จ่ายในการขนส่งและรวบรวมมา) อีกมากมาย

    หากเราเอามารวมกันนี่ ไม่ต้องสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ก็ยังเพียงพอ แต่ต้องช่วยกัน ทำให้มันเกิดให้ได้
     
  17. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    :cool: :cool: มีข่าวดีมาบอกครับ :cool::cool:

    ตอนนี้ไทยเราเริ่มเดินเครื่องบ้างแล้ว ในการสร้างพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ ( โซล่าฟาร์ม ) สนับสนุนโดยภาครัฐ คือกระทรวงพลังงาน และมูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม และธนาคารกสิกรไทยครับ จะคอยช่วยลุ้นต่อไปครับ


    <TABLE class=contentpaneopen style="WIDTH: 762px; HEIGHT: 44px"><TBODY><TR><TD class=contentheading width="100%">KBANK หนุนโซล่าเพาเวอร์ผลิตไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ใหญ่ที่สุดในอาเซียน </TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"></TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"></TD><TD class=buttonheading align=right width="100%"></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD class=createdate vAlign=top>Thursday, 07 January 2010 16:41 </TD></TR><TR><TD vAlign=top>กสิกรไทยหนุนพลังงานสีเขียว ปล่อยกู้ 1,100 ล้านให้โซล่า เพาเวอร์ ผู้ผลิตไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์รายใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สร้างโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ขายให้ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ทั้งหมด ชี้ช่วยลดมลภาวะ สร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ
    นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล กรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย เปิดเผยว่า ธนาคารกสิกรไทยมีนโยบายสนับสนุนโครงการที่ประหยัดพลังงานหรือใช้พลังงานทางเลือก เพื่อร่วมกันปกป้องสิ่งแวดล้อม และลดปัญหาโลกร้อน โดยล่าสุดธนาคารได้ให้การสนับสนุนทางการเงินจำนวนรวม 1,100 ล้านบาท แก่บริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายกระแสไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในการดำเนินโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
    สำหรับการให้การสนับสนุนทางการเงินครั้งนี้จะเป็นเงินกู้โครงการ (Project Finance) มาตรฐานระดับสากล ซึ่งประกอบด้วยวงเงินเพื่อนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ วงเงินกู้ระยะยาว พร้อมทั้งวงเงินอื่น ๆ เพื่อบริหารโครงการ อาทิ วงเงินเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน จำนวนรวมกว่า 1,100 ล้านบาท โดยโครงการนี้ได้รับความร่วมมือจากทางภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ
    ทั้งนี้ การผลิตไฟฟ้าของบริษัท โซล่า เพาเวอร์ นับเป็นโครงการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อการพาณิชย์ขนาดใหญ่โครงการแรกของประเทศไทย ซึ่งจะช่วยลดการพึ่งพาการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ น้ำมันเตา ที่ต้องนำเข้าเชื้อเพลิงส่วนหนึ่งจากต่างประเทศ ในขณะที่การใช้พลังงานน้ำจากเขื่อนต้องอาศัยความเพียงพอและต่อเนื่องของปริมาณน้ำ และมีข้อจำกัดในการขยายการผลิตด้วยการสร้างเขื่อนแห่งใหม่ ดังนั้นการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการผลิตไฟฟ้าจะเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้พลังงานหมุนเวียนจากธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด ช่วยสร้างความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้าแก่ประเทศในระยะยาว เนื่องจากประเทศไทยอยู่ในเขตร้อนจึงมีพลังงานแสงอาทิตย์ใช้ได้ไม่จำกัดอย่างต่อเนื่องเกือบตลอดทั้งปี
    ด้านนางสาววันดี กุญชรยาคง กรรมการผู้จัดการ บริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด กล่าวว่า รัฐบาลมีนโยบายให้กระทรวงพลังงานและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เข้าร่วมส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียน จึงทำให้บริษัทมุ่งมั่นที่จะผลิตและจำหน่ายไฟฟ้าด้วยระบบพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งถือเป็นพลังงานสะอาด ปราศจากมลพิษ มีศักยภาพสูง และมีความมั่นคงจากแหล่งพลังงานที่เป็นพลังงานธรรมชาติ โดยมีเป้าหมายและกลยุทธ์ขึ้นเป็นผู้นำในการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย ด้วยแผนการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ 34 แห่ง มีกำลังการผลิตไฟฟ้าได้รวมกว่า 200 เมกะวัตต์

    ขณะนี้บริษัทได้ก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แห่งแรกที่อำเภอโนนสูง นครราชสีมา เสร็จเรียบร้อยแล้ว พร้อมดำเนินการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในเดือนมีนาคมนี้ ด้วยกำลังการผลิต 5.88 เมกกะวัตต์ โดยการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) จะรับซื้อกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ทั้งหมด ทำให้โครงการมีความเสี่ยงต่ำ เนื่องจากมีแหล่งรับซื้อพลังงานที่แน่นอน

    นายประสาร กล่าวตอนท้ายว่า ธนาคารมีเป้าหมายที่จะเป็นอันดับหนึ่ง ในการสนับสนุนทางการเงินแก่ธุรกิจที่ใช้พลังงานหมุนเวียนด้วยส่วนแบ่งตลาด 30% ซึ่งนอกจากโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แล้ว ยังรวมถึงพลังงานหมุนเวียนประเภทอื่น ๆ เช่น โรงไฟฟ้าพลังงานลมและโรงไฟฟ้าชีวมวล
    ธนาคารกสิกรไทยได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาทางการเงินสำหรับโครงการพลังทางเลือก (Renewable Energy) ขนาดใหญ่หลายโครงการ ได้แก่ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมเชิงพาณิชย์แห่งแรกในประเทศ ที่จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่จังหวัดลพบุรี ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2554 โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และโรงไฟฟ้าชีวมวลอีกหลายโครงการด้วย

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ที่มา KBANKหนุนโซล่า เพาเวอร์ผลิตไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ใหญ่สุดในอาเซียน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 มกราคม 2010
  18. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เป็นข่าวดีของคนไทยที่ จะมีความมั่นคงด้านพลังงานสะอาดมากขึ้นครับ

    ที่จริงพลังงานทางเลือกยังมีหนทางอีกมากมายครับ เพียงแต่เรายังมอง เก็บ รวบรวม และนำมาใช้ได้ ไม่เต็มประสิทธภาพอย่างที่ควรจะเป็น
     
  19. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ไปหาข้อมูลเพิ่มมาครับ

    บริษัทฯ นี้เดิมทีใช้ชื่อ บริษัท โซลาร์ตรอน จำกัด (มหาชน) ก็มีการทำตลาดอยู่ก่อนแล้ว แต่อาจจะการตลาดไม่แข็งแรง ตอนนี้มีเงินทุนมากขึ้นคงจะดีขึ้นครับ ดูตัวอย่างสินค้า แล้วลองลิงค์ไปดูที่เวปไซท์ของบริษัทฯกันนะครับ คนไทยเราต้องช่วยๆกันสนับสนุนคนไทยด้วยกัน

    <TABLE class=tt cellSpacing=0 cellPadding=5 width="95%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=tt vAlign=top background=../images/bg_line.gif height=18>ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบเชื่อมต่อระบบจำหน่าย</TD></TR><TR><TD class=tt height=100>ลักษณะการใช้งาน
    ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบเชื่อมต่อระบบจำหน่าย เป็นระบบสำหรับบ้านพักอาศัยและอาคารสำนักงานโดยการนำแผงเซลล์แสงอาทิตย์ติดตั้งบนหลังคาบ้านหรือพื้นที่ๆ เหมาะสมที่สามารถรับแสงอาทิตย์ได้ตลอดเวลากลางวัน แผงเซลล์แสงอาทิตย์ทำหน้าที่ผลิตไฟฟ้ากระแสตรง (DC) ซึ่งจะถูกแปลงให้เป็นไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) ด้วยเครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า (Grid- Connected Inverter) ที่เชื่อมต่อกับระบบของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือการไฟฟ้านครหลวง ไฟฟ้าที่ผลิตได้จากระบบเซลล์แสงอาทิตย์นี้จะถูกใช้งานในบ้าน อาคารก่อน หากมีพลังงานไฟฟ้าเหลือ พลังงานไฟฟ้าส่วนที่เหลือนั้นจะไหลผ่านมิเตอร์ไฟฟ้าออกไปสู่ระบบของการไฟฟ้าฯ ทั้งนี้เพื่อให้เจ้าของบ้านมีส่วนช่วยในการผลิตไฟฟ้าจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ใช้เองภายในบ้านและขายส่วนเกินให้กับการไฟฟ้าฯ เจ้าของบ้านจะมีรายได้จากการขายไฟฟ้าหน่วยละประมาณ 11 บาท ซึ่งประกอบด้วยเงินที่การไฟฟ้าฯ จ่ายประมาณ 3 บาทต่อหน่วย และเงินที่กระทรวงพลังงานจ่ายให้อีก 8 บาทต่อหน่วย มีขนาดใช้งานตั้งแต่ 1 กิโลวัตต์ ถึง 10,000 กิโลวัตต์

    </TD></TR><TR><TD class=tt height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>ส่วนประกอบสำคัญ
    1. แผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Modules)
    2. เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า (Inverter)
    3. เบรกเกอร์ (Breakers) สวิตช์ (Switches)
    4. มิเตอร์ไฟฟ้า (kWh Meter)
    5. ระบบสายดิน (Ground System)




    </TD></TR><TR><TD vAlign=top background=../images/bg_line.gif height=29>ระบบสูบน้ำด้วยไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์</TD></TR><TR><TD vAlign=top height=200>ลักษณะการใช้งาน
    ระบบสูบน้ำด้วยไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สามารถสูบน้ำ ทั้งจากแหล่งน้ำผิวดิน และแหล่งน้ำใต้ดินที่เป็นบ่อบาดาล ตั้งแต่เวลาที่มีแสงอาทิตย์จนอาทิตย์ลับขอบฟ้า แผงเซลล์แสงอาทิตย์จะทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อไปขับเคลื่อนมอเตอร์ของเครื่องสูบน้ำ ให้สูบน้ำในเวลากลางวัน น้ำที่สูบได้จะถูกเก็บไว้ในถังเก็บน้ำซึ่งติดตั้งอยู่บนหอสูง น้ำจากหอสูงจะมีแรงดันเพียงพอที่จะไหลไปสู่บ้านผู้ใช้น้ำในบริเวณใกล้เคียง


    คุณลักษณะของระบบสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์
    1. ใช้เครื่องสูบน้ำที่ได้รับออกแบบพิเศษเพื่อใช้กับพลังงานแสงอาทิตย์โดยเฉพาะ
    2. ใช้ได้กับทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ กรณีไฟฟ้ากระแสตรงใช้แรงดัน 30-300 โวลต์ กรณีไฟฟ้ากระแสสลับใช้แรงดัน 90-240 โวลต์ ความถี่ 50/60 Hz
    3. อุปกรณ์ป้องกันการเสียหายเมื่อน้ำแห้ง
    4. อุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์เสียหายจากกรณีไฟตก
    5. อุปกรณ์ควบคุมแสดงสถานภาพการทำงานของเครื่องสูบน้ำ
    6. มีระบบตัดการทำงานในกรณีน้ำในถังเก็บน้ำเต็ม และทำงานในกรณีน้ำในถังเก็บน้ำลด

    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=100>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=25>ตัวอย่างการนำน้ำที่สูบได้จากพลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้ประโยชน์
    ปลูกพืชต่างๆ เช่น สบู่ดำ ปาล์มน้ำมัน พืชสวนครัว ฯลฯ
    เลี้ยงสัตว์ เช่น สุกร เป็ด ไก่ โค ปลา กุ้ง
    น้ำดื่ม
    ระบบน้ำกรองพลังงานแสงอาทิตย์



    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=25><TABLE class=tt cellSpacing=2 cellPadding=2 width=400 border=0><TBODY><TR><TD width=86 bgColor=#e9e6e2>รุ่น</TD><TD width=103 bgColor=#e9e6e2>
    S
    </TD><TD width=87 bgColor=#e9e6e2>
    M
    </TD><TD width=98 bgColor=#e9e6e2>
    L
    </TD></TR><TR><TD>กำลังไฟฟ้า</TD><TD>
    500 วัตต์​
    </TD><TD>
    750 วัตต์​
    </TD><TD>
    960 วัตต์​
    </TD></TR><TR><TD>ปริมาณน้ำ</TD><TD>
    51 ม.<SUP>3</SUP>​
    </TD><TD>
    76 ม.<SUP>3</SUP>​
    </TD><TD>
    100 ม.<SUP>3</SUP>​
    </TD></TR><TR><TD>เครื่องสูบน้ำ</TD><TD colSpan=3>
    Grundfos SQ Flex​
    </TD></TR><TR><TD>อุปกรณ์ควบคุม</TD><TD colSpan=3>
    Grundfos CU 200​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    Note : Solar radiation 4.9 kwh/ m2 / day, Static Level 5 m.

    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=50>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    ที่มา :: solartron :: The Leader of Solar Technology
     
  20. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    อันนี้ก็น่าสนใจดีครับ

    <TABLE class=tt cellSpacing=0 cellPadding=5 width="95%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top background=../images/bg_line.gif height=23>ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อใช้ในระบบสื่อสารโทรคมนาคม </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=25>ลักษณะการใช้งาน
    การสื่อสารโทรคมนาคมนับเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญในการดำรงชีวิตในปัจจุบัน แต่ในประเทศไทยยังมีหมู่บ้านที่ไม่มีไฟฟ้าใช้เป็นจำนวนกว่า 2,000 หมู่บ้าน ซึ่งเป็นพื้นที่ๆ อยู่ห่างไกลจากระบบของการไฟฟ้า เช่น ภูเขา ทุ่งนาห่างไกล เกาะแก่ง และบริเวณที่อยู่ห่างไกลทุรกันดาร ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อใช้ในระบบสื่อสารโทรคมนาคม ได้รับการออกแบบให้เหมาะสมในการติดตั้งใช้งานในทุกสภาพของทุกพื้นที่และสภาพภูมิอากาศ บริษัทได้ทำการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อใช้ในระบบสื่อสารโทรคมนาคม ทั่วทั้งประเทศและในประเทศใกล้เคียง มากกว่า 600 ระบบ คิดเป็นจำนวนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ติดตั้งในระบบสื่อสารแล้วมากกว่า1.5 เมกะวัตต์

    ส่วนประกอบสำคัญ

    1. แผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Modules)
    2. อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ (Battery Charging Controller)
    3. เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า (Inverter) (แล้วแต่ความจำเป็น)
    4. แบตเตอรี่ (Batteries) เบรกเกอร์ (Breaker)
    5.สวิตช์ (Switches)
    6.ระบบสายดิน (Ground System)



    <TABLE class=tt cellSpacing=2 cellPadding=2 width=632 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=220 bgColor=#e9e6e2>470 MHz Public Telephone System
    </TD><TD vAlign=top width=204 bgColor=#e9e6e2>Typical Solar Powered Satellite Telecommunication System
    </TD><TD vAlign=top width=188 bgColor=#e9e6e2>IP Star Satellite Telecommunication System
    </TD></TR><TR><TD>1. 120 Watt solar cell module 1 panel
    </TD><TD>1. 1,000-2,000 Watt solar cell modules
    </TD><TD>1. 480-1,200 Watt solar cell modules
    </TD></TR><TR><TD>2. Battery charge controller 1 set
    </TD><TD>2. Battery charge controller 1 set
    </TD><TD>2. Battery charge controller 1 set
    </TD></TR><TR><TD>3. Sealed lead acid battery 12 V 120 Ah 1 pcs
    </TD><TD>3. Battery 48 V 700 Ah, or up to
    requirement
    </TD><TD>3. Battery 12 V, capacity up to
    requirement
    </TD></TR><TR><TD>
    </TD><TD>
    </TD><TD>4. 200 Watt Inverter 1 set
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    There are many benefits of Solar Powered Telecommunication System to the country, not only in rural economics, quality of life and social aspects but also the on-line internet education.
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=25>[​IMG]

    <TABLE class=tt cellSpacing=0 cellPadding=5 width="95%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top background=../images/bg_line.gif height=12>ระบบผลิตน้ำหยดเพื่อการเกษตรด้วยไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=6>ระบบผลิตน้ำหยดเพื่อการเกษตรด้วยไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ เป็นการใช้น้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อการเกษตร เหมาะสมกับพื้นที่ที่แห้งแล้งและได้รับแสงอาทิตย์ในปริมาณมากๆ ในช่วงเวลากลางวัน แผงเซลล์แสงอาทิตย์จะผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อให้เครื่องสูบน้ำส่งน้ำไปสู่ท่อน้ำหยดในพื้นที่เพาะปลูก

    ส่วนประกอบสำคัญ
    1. แผงเซลล์แสงอาทิตย์ 1 แผง
    2. เครื่องสูบน้ำ 1 ชุด
    3. เครื่องควบคุม Maximum Power Point Tracking (MPPT) 1 ชุด
    4. เครื่องกรองน้ำ 1 ชุด
    5. ถังผสมน้ำปุ๋ย 1 ชุด
    6. ท่อน้ำหยด 1 ชุด ความยาวรวมประมาณ 1,000 เมตร


    </TD></TR><TR><TD vAlign=top height=6>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    ไว้มีตังค์ ซื้อที่ต่างจังหวัด คงต้องช่วยอุดหนุนสัก 2 - 3 ชุดนะครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...