Magnet Generator .... พลังงาน Free ... ทางเลือกยุคน้ำมันแพง

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Pew Pew, 10 กรกฎาคม 2008.

  1. boontar

    boontar เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    2,717
    ค่าพลัง:
    +5,514
    น้ำมันปาล์ม
    ผมว่าเหมาะกับคนไทยนะครับ
    ในชุมชนหมู่บ้านปลูกปาล์มสลับพืชเกษตรอื่นๆ
    ทำน้ำมันปาล์มใช้เองในชุมชน
    เครื่องยนต์ดีเซลเก่าหน่อยก็ยิ่งเหมาะ
    มีอุปกรณ์ผลิตน้ำมันปาล์มมาเสนอขายในงาน
    ตั้งแต่ปอกเปลือก-ต้ม-คั้นน้ำมัน-ปั่นแยก-กรอง
    ราคาทั้งชุดร่วมๆแสนบาทแต่ถ้าดัดแปลงทำเองคงไม่กี่หมื่น
    ผลิตน้ำมันปาล์มปีสองปีก็คืนทุนหลังจากนั้นก็กำไร
    พึ่งพาพลังงานของตนเองได้ 100%ทุกสถานการณ์
    ในรูปที่1คือ ทะลายปาล์ม
    รูปที่2 คือเครื่องมือผลิตที่เค้าเสนอขาย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ค้นเจอ ภาพบรรยากาศงานที่คุณ boontar แนะนำให้ไปดู พอดีไม่ได้ไป จึงขอเอามาแปะให้ดูกัน ปีหน้า ถ้าสนใจและมีเวลา น่าจะไปดูเอาความรู้ เท่าที่ดู ยังไม่เห็นปุ่มปั๊มลมบนพื้นถนน ที่ให้รถวิ่งทับแล้วปั่นไฟเลย รอดูรูปจากคุณ boontar อยู่นะครับ

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ดูทางเลือกพลังงาน ในนิทรรศการพลังงานทางเลือก WAESE 2009</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>6 มีนาคม 2552 00:17 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เซลล์แสงอาทิตย์และเครื่องสะสมมพลังงานแสงอาทิตย์ จากบริษัท โซลาร์ตรอน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> "ทีมข่าววิทยาศาสตร์" อาสาพาดูทางเลือกพลังงาน ในงานใหญ่ "พลังงานทางเลือกWAESE” ของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ภาคเอกชนขนเซลล์แสงอาทิตย์ กังหันลมจัดแสดงเพียบ

    งานประชุมวิชาการและนิทรรศการพลังงานทางเลือกนานาชาติ (World Alternative Energy Science Expo 2009: WAESE 2009) ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 5-8 มี.ค.52 ณ อิมแพค เมืองทองธานี โดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เริ่มขึนแล้ว ทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTV-ผู้จัดการออนไลน์ จึงไปสำรวจดูว่ามีพลังงานทางเลือกอะไรที่น่าสนใจบ้าง

    อาจเป็นพลังงานที่โดดเด่นที่สุดในงานนี้ สำหรับพลังงานลมซึ่งมีหน่วยงานเอกชนนำมาเสนอกันหลายเจ้า อาทิ บริษัท พระพาย เทคโนโลยี จำกัด ที่ขนกังหันลมหลายขนาดมาจัดนิทรรศการ หรือบริษัท แคนนอน มาร์เก็ตติ้ง (ไทยแลนด์) ที่ขนกังหันลมจำลองมันร่วมแสดง และประชาสัมพันธ์โครงการ "พลังงานสีขาว เพื่อโลกสีเขียว” (Clean Energy for Green world) ซึ่งเป็นโครงการติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟ้าให้แก่โรงแรียน 15 แห่งทั่วประเทศ

    ส่วนพลังงานแสงอาทิตย์ก็โดดเด่นไม่แพ้กัน เพราะบริษัทเอกชนทั้งในและต่างประเทศ ต่างขนเซลล์แสงอาทิตย์มาจัดแสดงและสาธิตการประยุกต์ใช้งาน อย่างบริษัท โซลาร์ตรอน จำกัด ที่นำตัวอย่างระบบสูบน้ำด้วยไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์มาสาธิต หรือตัวอย่างชุดไฟสาธารณะส่องสว่างด้วยไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ เป็นต้น

    ในส่วนของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้นำอุปกรณ์เพื่อการหุงต้มที่ใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมาร่วมจัดแสดงในงานนี้ด้วย อาทิ เตาชีวมวล ที่สามารถเผาไหม้เชื้อเพลิงชีวมวลให้เผาไหม้อย่างสมบูรณ์ เตาเผาถ่าน เป็นต้น

    นอกจากนี้ "ไบโอโดม" (Bio Dome) สถาปัตยกรรมที่ออกแบบโดยอาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นอาคารบ้านพักที่สร้างด้วยโฟม เป็นโครงสร้างครึ่งวงกลม ซึ่ง ศ.ดร.สุนทร บุญญาธิการ ผู้ออกแบบอธิบายกับทีมข่าววิทยาศาสตร์ว่า ออกแบบอาคารดังกล่าวโดยคำนึงถึงประสาทสัมผัสของผู้อาศัยเป็นสำคัญ โดยโฟมซึ่งเป็นวัสดุสำคัญในการก่อสร้างนั้นมีอุณหภูมิผิวผนังต่ำ ทำให้ผู้อาศัยไม่รู้สึกร้อนเมื่อเปรียบเทียบกับวุสดุอื่นที่ให้อุณหภูมิห้องเท่ากัน แต่อุณหภูมิผิวสัมผัสต่างกัน

    สำหรับงานประชุมวิชาการและนิทรรศการพลังงานทางเลือกนานาชาตินี้ ทางกระทรวงวิทยาสาสตร์ฯ ได้โอนงบประมาณ 80 ล้านบาทให้ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อดำเนินการจัดงาน โดยงานนี้จัดถึงวันที่ 8 มี.ค.52 ณ อิมแพค เมืองทองธานี.

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>นี่ถือเป็นอีก 1 พลังงานทางเลือกหรือไม่สำหรับ "พลังงานนิวเคลียร์" ซึ่งมีแบบจำลองโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มาจัดแสดง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=375 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=375>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>กังหันลมจากหลายองค์กรที่ขนมาประชันกัน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=375 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=375>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=375 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=375>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เตาเศรษฐกิจ กระทรวงพลังงาน ที่ออกแบบให้ใช้เชื้อเพลิงจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=477 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=477>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เตาชีวมวลจากกระทรวงพลังงานที่ออกแบบให้ใช้พลังงานชีวมวลได้อย่างสมบูรณ์</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=600>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=600>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=600>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ไบโอโดม อาคารที่ก่อขึ้นด้วยโฟม</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=375 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=375>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>แถมท้ายด้วยแฟรนส์ไชส์ขายขยะ "วงษ์พาณิชย์"</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    เจอแล้วครับ - ภาพวิธีการปั่นไฟโดยอาศัยน้ำหนักกดลงบนพื้น แต่แบบนี้ เป็นการปั่นไฟโดยการเดินของคนญี่ปุ่น เหยียบลงบนพื้น แล้วจะเกิดการปั่นไฟได้ เขาทดลองวางไว้หน้าสถานีรถไฟที่มีคนเดินผ่านมากๆ - เข้าท่าดีนะ ( คนปั่นไฟ 2 คนแรกก็ดูเข้าท่ามั่กๆ อิ อิ )

    Shibuya Harnesses Pedestrian Power

    <HR style="COLOR: #cccccc" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->[​IMG]

    There's a new gimmick on display in front of Shibuya station. Embedded in the floor are power generation tiles which register the energy of pedestrians walking or jumping on them and show the resulting kilowatt totals on an LED signboard.

    [​IMG]

    ด้านหน้าของสถานีรถไฟ Shibuya มีการติดตั้งพื้นที่เมื่อเหยียบแล้วจะ[​IMG]สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าออกมาได้ และมีจอ LED บอกว่าที่เดินหรือวิ่งบนพื้นนั้นผลิตกระแสไฟฟ้าได้กี่กิโลวัตต์ คาดว่าอนาคตอาจติดตั้งไว้ตามพื้นศูนย์การค้าที่คนเดินผ่านเยอะๆ ช่วยปั่นไฟให้ห้างไปในตัว

    ไม่รู้ว่าจะเป็นเหมือนระบบในภาพนี้ รึเปล่า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 พฤษภาคม 2009
  4. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    อุปกรณ์รุ่นใหม่ - พลัลงานทางเลือก

    เอาไว้เป็นความรู้รอบตัวครับ

    เครื่องชาร์จมือถือแบตเตอรี่พลังงานแสงอาทิตย์เอนกประสงค์<SMALL>
    ดาวน์โหลดใบสั่งซื้อได้ที่นี่ ใบสั่งซื้อฟอร์แมต .doc หรือ ใบสั่งซื้อฟอร์แมต .pdf</SMALL>
    <TABLE style="WIDTH: 866px; HEIGHT: 227px; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=2 cellPadding=8 border=1><TBODY><TR><TD style="WIDTH: 207px"> [​IMG]
    </TD><TD style="WIDTH: 615px"><SMALL></SMALL><SMALL>เครื่องชาร์ตมือถือพลังงานแสงอาทิตย์ รุ่น SMC-054</SMALL>
    • <SMALL>สามารถเก็บพลังงานได้ 500 mAh </SMALL>
    • <SMALL>พร้อมที่ชาร์จไฟบ้านและรถยนต์ </SMALL>
    <SMALL>
    ราคาปกติ 1,550 บาท พิเศษลดเหลือ 1,245 บาท (รวม VAT แล้ว)</SMALL>
    <SMALL></SMALL></TD></TR><TR><TD style="WIDTH: 207px"> [​IMG]</TD><TD style="WIDTH: 615px"><SMALL>เครื่องชาร์ตมือถือพลังงานแสงอาทิตย์ รุ่น SMC-055</SMALL>
    • <SMALL>สามารถเก็บพลังงานได้ 500 mAh </SMALL>
    • <SMALL>พร้อมที่ชาร์จไฟบ้านและรถยนต์ </SMALL>
    <SMALL>
    ราคาปกติ 1,550 บาท พิเศษลดเหลือ 1,245 บาท (รวม VAT แล้ว)</SMALL></TD></TR><TR><TD> [​IMG]</TD><TD><SMALL>เครื่องชาร์ตมือถือพลังงานแสงอาทิตย์ รุ่น EPI-233S</SMALL>
    • <SMALL>สามารถเก็บพลังงานได้ 700 mAh</SMALL>
    • <SMALL>มีวิทยุ AM/FM พร้อมรูเสียบหูฟัง</SMALL>
    • <SMALL>มีไฟฉาย, นาฬิกา และเสียง SIREN</SMALL>
    <SMALL> ราคาปกติ 2,900 บาท พิเศษลดเหลือ 2,327 บาท (รวม VAT แล้ว)
    </SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <BIG><BIG>


    </BIG></BIG><TABLE style="WIDTH: 866px; HEIGHT: 37px; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=2 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD> วิทยุไฟฉายและเครื่องชาร์จมือถือเอนกประสงค์พลังงานแสงอาทิตย์<SMALL>
    ดาวน์โหลดใบสั่งซื้อได้ที่นี่ ใบสั่งซื้อฟอร์แมต .doc หรือ ใบสั่งซื้อฟอร์แมต .pdf</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="WIDTH: 866px; HEIGHT: 227px; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=2 cellPadding=8 border=1><TBODY><TR><TD style="WIDTH: 207px"> [​IMG]
    </TD><TD style="WIDTH: 615px"><SMALL></SMALL><SMALL>วิทยุไฟฉายและเครื่องชาร์จมือถือพลังงานแสงอาทิตย์ รุ่น EPI-518DYS</SMALL>
    • <SMALL>สามารถเก็บพลังงานได้ 300 mAh</SMALL>
    • <SMALL>มีวิทยุ AM/FM พร้อมรูเสียบหูฟัง</SMALL>
    • <SMALL>มีไฟฉาย และเสียง SIREN</SMALL>
    • <SMALL>มีทั้งมือหมุน Dynamo ปั่นไฟและพลังงานแสงอาทิตย์</SMALL>
    • <SMALL>สามารถใช้ได้กับถ่านไฟฉาย AAA x 3 ก้อน</SMALL>
    <SMALL> ราคาปกติ 2,500 บาท พิเศษลดเหลือ 1,999 บาท (รวม VAT แล้ว) </SMALL>
    </TD></TR><TR><TD style="WIDTH: 207px"><SMALL></SMALL><SMALL></SMALL> [​IMG]</TD><TD style="WIDTH: 615px"><SMALL>วิทยุไฟฉายและเครื่องชาร์จมือถือพลังงานแสงอาทิตย์ รุ่น EPI-1628DYCS</SMALL>
    • <SMALL>สามารถเก็บพลังงานได้ 300 mAh</SMALL>
    • <SMALL>มีวิทยุ AM/FM พร้อมรูเสียบหูฟัง</SMALL>
    • <SMALL>มีไฟฉาย และเสียง SIREN</SMALL>
    • <SMALL>มีทั้งมือหมุน Dynamo ปั่นไฟและพลังงานแสงอาทิตย์</SMALL>
    • <SMALL>สามารถใช้ได้กับถ่านไฟฉาย AAA x 3 ก้อน</SMALL>
    <SMALL>
    </SMALL><SMALL> ราคาปกติ 2,600 บาท พิเศษลดเหลือ 2,085 บาท (รวม VAT แล้ว) </SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <BIG><BIG>
    </BIG></BIG><BIG><BIG>

    </BIG></BIG><TABLE style="WIDTH: 866px; HEIGHT: 37px; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=2 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD> ระบบไฟส่องแสงพลังงานแสงอาทิตย์<SMALL>
    ดาวน์โหลดใบสั่งซื้อได้ที่นี่ ใบสั่งซื้อฟอร์แมต .doc หรือ ใบสั่งซื้อฟอร์แมต .pdf</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="WIDTH: 866px; HEIGHT: 227px; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=2 cellPadding=8 border=1><TBODY><TR><TD style="WIDTH: 207px"> [​IMG]
    </TD><TD style="WIDTH: 615px"><SMALL></SMALL><SMALL>ไฟสปอร์ตไลท์กันขโมยพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Security Light)</SMALL>
    • <SMALL>เหมาะสำหรับติดตั้งบริเวณหน้าบ้านหรือโรงรถ สามารถทำงานได้โดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้า</SMALL>
    • <SMALL>แผงโซล่าเซลล์จะทำการผลิตกระแสไฟฟ้าไปเก็บไว้ในแบตเตอรี่ขนาด 1.2V, 1300 mA จำนวนถึง 5 ก้อน</SMALL>
    • <SMALL>ไฟสปอร์ตไลท์จะทำงานเมื่อมีวัตถุเคลื่อนไหว</SMALL>
    • <SMALL>หลอดไฟสปอร์ตไลท์ขนาด 20 W 6 V </SMALL>
    • <SMALL>ระยะจับการเคลื่อนไหว 2 – 8 เมตร (ปรับได้) </SMALL>
    • <SMALL>สามารถตั้งเวลาเปิดไฟได้ 5 – 120 วินาที</SMALL>
    <SMALL>์ ราคาปกติ 2,500 บาท พิเศษลดเหลือ 1,999 บาท (รวม VAT แล้ว) </SMALL>
    </TD></TR><TR><TD style="WIDTH: 207px"><SMALL></SMALL><SMALL></SMALL> [​IMG]</TD><TD style="WIDTH: 615px"><SMALL>ไฟประดับ/กระพริบ พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Powered with Fantasy Light)</SMALL>
    • <SMALL>ไฟกระพริบแต่งสวนและต้นคริสต์มาสแปลงพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นไฟฟ้าไว้ในแบตเตอรี่</SMALL>
    • <SMALL>หลังจากเก็บไฟจากแสงอาทิตย์ไว้เต็มแล้ว สามารถกระพริบได้ตลอดทั้งคืนโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้า </SMALL>
    • <SMALL>ติดตั้งได้ทุกสถานที่โดยไม่ต้องลากสายไฟ หลอดไฟกระพริบ LED รุ่นใหม่ยาว 12 เมตร</SMALL>
    • <SMALL>ทำงานเองเมื่อไม่มีแสงอาทิตย์ (มีสวิตช์ปิด-เปิด และสวิตช์ตั้งโปรแกรมจังหวะไฟกระพริบได้)</SMALL>
    <SMALL> ราคาปกติ 3,500 บาท พิเศษลดเหลือ 2,799 บาท (รวม VAT แล้ว) </SMALL></TD></TR><TR><TD> [​IMG]
    </TD><TD><SMALL>ไฟเตือนบอกทางพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Traffic Warning Light)</SMALL>
    • <SMALL>ใช้สำหรับติดบนพื้นถนน ขอบทางเดิน หรือไฟกระพริบฉุกเฉิน </SMALL>
    • <SMALL>สามารถรับน้ำหนักรถได้ถึง 10 ตัน กันน้ำและฝน ไม่ต้องดูแลรักษา </SMALL>
    • <SMALL>ทำงานเองอัตโนมัติเมื่อไม่มีแสงอาทิตย์ (มีสวิตช์ปิด-เปิด) มีให้เลือกทั้งหลอด LED สีแดงและสีเหลือง</SMALL>
    <SMALL> ราคาปกติ 900 บาท พิเศษลดเหลือ 720 บาท (รวม VAT แล้ว)</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    อันนี้เป็นแบบของอิสราเอล เหมือนกับที่บอกไว้มั้ยครับ

    โรงไฟฟ้าบนท้องถนน โพสต์เมื่อ: 07:47 วันที่ 12 ธ.ค. 2551 </B> ชมแล้ว: 4,022 [​IMG] ตอบแล้ว: 1
    วิชาการ.คอม, เทคโนโลยี, vEnergy, พลังงานทดแทน, เทคโนโลยีวัสดุ, เทคโนโลยีอิเลคทรอนิกส์
    <INPUT type=hidden value=news> <INPUT type=hidden value=151909> <INPUT type=hidden>
    ทางสายนี้ยิ่งรถมากเท่าไหร่ยิ่งผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากเท่านั้น วิศวกรจากประเทศอิสราเอลงัดแนวคิดใหม่ เปลี่ยนพื้นถนนมาเป็นโรงผลิตไฟฟ้า
    แนวคิดของเรื่องนี้เกิดจากการที่วิศวกรต้องการนำเอาพลังงานที่มีอยู่แล้วและไม่ได้ใช้งาน มาใช้ให้เกิดประโยชน์ค่ะ เนื่องจากเรามีการใช้รถใช้ถนนกันทุกวัน พลังงานที่เกิดจากการสั่นสะเทือนบนผิวถนนเมื่อรถแต่ละคันวิ่งผ่าน จึงเป็นประเด็นพลังงานที่นักวิศวกรจับตามอง
    การเก็บเกี่ยวพลังงานทำได้โดยอาศัยผลึกแก้วควอทซ์ หรือเรียก piezoelectric crystals วางรายเรียงกันภายใต้ผิวยางมะตอยเพื่อรับแรงสั่นสะเทือนจากการเคลื่อนที่ผ่านของยานพาหนะไปใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า

    [​IMG]

    ผลึกแก้วควอทซ์ (piezoelectric crystals)​
    วัสดุ piezoelectric คือ วัสดุที่สามารถให้สนามไฟฟ้า ได้แก่ ผลึกแก้ว และ เซรามิก นั้น เมื่อได้รับแรงตึงเครียดทางกลศาสตร์ (ที่เรียก mechanical stress) ก็จะผลิตกระแสไฟฟ้าออกมา
    นาย Haim Abramovich จาก Technion-Israel Institute of Technology แถลงว่า ผลึกแก้วนั้น สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากถึง 400 กิโลวัตต์จากถนน 4 ช่องการจราจรที่ขนาดความยาว 1 กิโลเมตร

    [​IMG]

    การจราจรที่คับคั่งจะช่วยให้ผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากขึ้น​
    บริษัท Innowattech ผู้ร่วมแนวคิดจะได้ทำการทดสอบระบบการผลิตไฟฟ้าจากถนนความยาว 100 เมตร ในทางตอนเหนือของประเทศอิสราเอล ในเดือนมกราคมที่จะมาถึงนี้ ผู้ผลิตกล่าวว่า ถ้าโครงการนำร่องนั้นประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ขั้นต่อไปถนนเส้นที่มีการจราจรคับคั่ง เช่น ทางด่วนหรือทางหลวงก็จะเป็นทำเลที่เหมาะสมในการนำเทคโนโลยีมาใช้
    ผู้ผลิต นาย Haim Abramovich กล่าวว่า ในกระบวนการการติดตั้ง piezoelectric crystals นี้ ไม่ได้ก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นแต่อย่างใด และการติดตั้ง piezoelectric crystals นั้นก็ไม่ได้จะไปเจาะถนนเพื่อทำการติดตั้ง แต่จะติดตั้งเฉพาะช่วงที่มีการซ่อมแซมหรือบูรณะถนนเท่านั้น จึงไม่ได้มีค่าขุดเจาะเพิ่มเติมแต่อย่างใด
     
  6. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ปั๊มน้ำมันในอนาคตครับผม !
    สถานีชาร์จไฟ สำหรับรถที่ใช้พลังงานไฟฟ้าที่เปิดใช้บริการอย่างเป็นทางการที่ซานฟรานซิสโก โพสต์เมื่อ: 19:50 วันที่ 27 ก.พ. 2552 </B> ชมแล้ว: 872 ตอบแล้ว: 1
    วิชาการ.คอม, เทคโนโลยี, เทคโนโลยีอิเลคทรอนิกส์
    <INPUT type=hidden value=news> <INPUT type=hidden value=152106> <INPUT type=hidden>
    [​IMG]
    นายกเทศมนตรีของเมืองซานฟาซิสโก นายเกวิล นิวซัม ได้กล่าวไว้เมื่อปี 2008 ถึงเรื่องสถานีสำหรับเติมประจุไฟฟ้าหรือพัลงานไฟฟ้าให้กับยานพาหนะที่ใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีแผนที่จะสร้างขึ้นบริเวณชานเมืองซานฟาซิสโก และในตอนนี้นายกเทศมนตรีได้ให้คำสัญญาแล้วว่าพื้นที่บริเวณนั้นจะเป็นแบบอย่างของการให้บริการของสถานีชาร์จไฟของรถยนต์
    นายกเทศมนตรี เกวิล นิวซัม กล่าวว่า เป้าหมายของพวกเราคือเปลี่ยนพื้นที่บริเวณที่วางแผนไว้เป็นสถานีสำหรับยานพาหนะที่ใช้พลังงานไฟฟ้าในการขับเคลื่อนและเชื่อมต่อโครงข่ายพื้นฐานที่เป็นองค์ประกอบสำคัญสำหรับยานพาหนะที่ใช้พลังงานไฟฟ้า
    ซานฟรานซิสโกเป็นเมืองแรกที่จะสร้างสถานีสำหรับยานพาหนะที่ใช้พลังงานไฟฟ้าในการขับเคลื่อน โดยใช้เทคโนโลยีที่มีที่ผลิตโดยบริษัทคูลอมบ์เทคโนโลยี โดยจะทำการติดตั้งทั้งหมด 3 สถานีในซานฟรานซิสโก โดยความโด่ดเด่นของสถานีนี้คือมีระบบจัดการที่รวดเร็วกว่าปั๊มน้ำมันที่ให้บริการเติมน้ำมันทั่วไป อีกทั้งการใช้ยานพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้ายังสามารถช่วยลดภาวะเรือนกระจกได้อีกด้วย ซึ่งการใช้งานของสถานีชาร์จไฟฟ้ารถยนต์นี้จะทำการทดลองการใช้งานและติดตามผลเป็นระยะเวลา 2 ปี ด้วยเงินทุนกว่า 3.8 ล้านดอลล่าสหรัฐ

    ค่าบริการของการเติมประจุไฟฟ้าไปยังพาหนะจะไม่มีค่าบริการตลอดปี 2009 จากนั้นก็จะมีการเก็บค่าบริการเป็นรายเดือนตามแต่การใช้งาน อาทิเช่น 15 ดอลล่าสหรัฐต่อเดือนสำหรับการชาร์จไฟในตอนกลางคืน 10 ครั้ง หรือ 30 ดอลล่าร์ต่อเดือนสำหรับการชาร์จไฟในเวลากลางคืนแบบไม่จำกัดจำนวนครั้ง หรือ 25 ดอลล่าร์ต่อเดือนสำหรับการชาร์จไฟในเวลาใดก็ได้เป็นจำนวน 10 ครั้ง และ 50 ดอลล่าร์สำหรับการชาร์จไฟในเวลาใดก็ได้โดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง เป็นต้น


    [​IMG]

    มากไปว่านั้น ระบบการเติมประจุไฟฟ้าของคูลอมบ์ยังมีความสามารถที่จะส่งข้อความเตือนไปยังโทรศัพท์มือถือของผู้ขับรถ ในกรณีที่ยานพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้านี้ถึงเวลาที่ต้องชาร์จ หรือปริมาณของประจุไฟฟ้าในตัวรถใกล้จะหมด

    ริชชาร์จ โรลเวนทอล ผู้ช่วยผู้บริหารของคูลอมบ์ กล่าวเสริมว่า พื้นที่ที่ถูกกำหนดให้สร้างสถานีสำหรับชาร์จไฟฟ้านี้ จะเป็นจุดศูนย์กลางสำหรับรถที่ใช้พลังงานไฟฟ้าแห่งแรกๆของย่านนี้ และด้วยเทคโนโลยีอันล้ำหน้านี้ จะทำให้เมืองซานฟรานซิสโกเป็นต้นแบบในการสร้างสถานีสำหรับรถที่ใช้พลังงานไฟฟ้าที่ติดตั้งในที่สาธารณะ
    บริษัทคูลอมบ์ตั้งอยู่ในเมืองแคลิฟอเนีย มีความเชียวชาญในการสร้างอุปกรณ์ที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานของรถที่ใช้พลังงานไฟฟ้า รวมถึงการพัฒนาเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่มีส่วนขับเคลื่อนให้พาหนะที่ใช้พลังงานไฟฟ้าเป็นที่แพร่หลายในกลุ่มผู้บริโภคมากขึ้น
    [​IMG] [​IMG]
     
  7. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    พลังงานไฟฟ้าในอนาคต แบบนาโนครับ !!

    พลังงานรูปแบบใหม่นี้ อาจจะทำให้เครื่องกำเนินพลังงานใบเดิมๆ ตกยุคไปเลยครับ

    Spin Batterry: พลังงานไฟฟ้าจากสนามแม่เหล็ก โพสต์เมื่อ: 19:18 วันที่ 12 มี.ค. 2552 </B> ชมแล้ว: 244 ตอบแล้ว: 2
    วิชาการ.คอม, วิทยาศาสตร์, ฟิสิกส์
    <INPUT type=hidden value=news> <INPUT type=hidden value=152122> <INPUT type=hidden>
    นักวิจัยจาก University of Miami ร่วมกับ Universities of Tokyo และ Tohoku ในการพัฒนาแบตเตอรีชนิดใหม่ที่เรียกว่า "spin battery" ขึ้นมา ซึ่งเป็นแบตเตอรีที่อัดประจุไฟฟ้าหรือชาร์จได้จากให้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าขนาดใหญ่ไปยังแม่เหล็กที่มีขนาดระดับนาโนในอุปกรณ์ที่เรียกว่า magnetic tunnel junction (MTJ)

    เทคโนโลยีใหม่นี้เป็นความก้าวหน้าอีกขั้นหนึ่งในการสร้าง hard drive ของคอมพิวเตอร์ ที่ไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหวได้ ส่งผลให้เกิดการทำงานที่รวดเร็วมากขึ้น ราคาถูกลงและใช้พลังงานน้อยลงกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ในอนาคตอันใกล้ แบตเตอรีชนิดนี้อาจจะถูกนำมาเป็นแหล่งพลังงานในรถยนต์ด้วย

    งานวิจัยนี้ได้รับการเผยแพร่ออนไลน์และตีพิมพ์ลงในวารสาร Nature ที่มีชื่อเสียงมาก

    อุปกรณ์นี้ถูกคิดค้นโดย Stewart E. Barnes นักฟิสิกส์จาก University of Miami และทีมวิจัยของเขา โดยอุปกรณ์ดังกล่าวสามารถเก็บสะสมพลังงานในแม่เหล็กได้ดีกว่าจากการใช้ปฏิกิริยาเคมีในแบตเตอรีทั่วไป

    หลักการคล้ายการหมุนรถของเล่น spin battery นี้จะเกิดการหมุนตัวเองเมื่อมีการปล่อยสนามแม่เหล็กเข้าไป โดยไม่มีปฏิกิริยาเคมีมาเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่มีศักยภาพดีที่สุดเท่าที่เคยมีมา

    ทีมวิจัยคาดหวังกับผลลัพธ์ที่ได้มาก แต่เครื่องมือนี้กว่าจะสามารถผลิตความต่างศักย์ไฟฟ้าได้สูงหลายร้อยเท่าต้องใช้เวลาสูงถึง 10 นาที มากกว่าเวลามิลลิวินาทีที่คาดกันไว้ ซึ่งผลที่เกิดขึ้นนั้นสวนทางกับความน่าจะเป็นที่คิดไว้ และยังต้องมีการศึกษาเพื่อให้เกิดความเข้าใจในทฤษฎีนี้เพิ่มขึ้นว่าเกิดอะไรขึ้น

    ความลับเบื้องหลังเทคโนโลยีนี้คือการใช้แม่เหล็กนาโนเพื่อเหนี่ยวนำแรงขับเคลื่อนทางไฟฟ้า ซึ่งใช้หลักการเดียวกับแบตเตอรีทั่วไปยกเว้นการมีรูปแบบที่แน่นอนมากกว่า

    พลังงานที่สะสมในแบตเตอรีทั่วไปทำให้นำไปใช้กับอุปกรณ์ เช่น iPod หรือรถยนต์ไฟฟ้า อยู่ในรูปของพลังงานเคมี เมื่อมีการเปิดเครื่องหรือกดสวิตช์จะทำให้ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นและมีการสร้างกระแสไฟฟ้า แต่เทคโนโลยีใหม่นี้จะทำการเปลี่ยนพลังงานแม่เหล็กไปเป็นพลังงานไฟฟ้าได้โดยตรง โดยกระแสไฟฟ้าที่สร้างขึ้นในกระบวนการนี้เรียกว่า spin polarized current และเทคโนโลยีนี้เรียกว่า "spintronics”

    การค้นพบนี้ช่วยสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของแม่เหล็กได้ถ่องแท้ยิ่งขึ้น และการนำไปใช้ในการสร้างอุปกรณ์ MTJs เพื่อประกอบเป็นส่วนหนึ่งของระบบอิเลกทรอนิกซึ่งจะมีการทำงานต่างไปจากทรานซิสเตอร์ที่ใช้ในปัจจุบัน

    ถึงแม้ว่าอุปกรณ์จริงจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางพอๆ กับเส้นผมคนเราและไม่สามารถให้พลังงานต่อ LED (light-emitting diode—แหล่งกำเนิดแสงที่ใช้ในอุปกรณ์อิเลกทรอนิก) ได้ พลังงานที่สะสมช่วยให้รถยนต์สามารถวิ่งได้เป็นระยะหลายไมล์เลยทีเดียว และอาจจะเพิ่มศักยภาพได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด

    มีอุปกรณ์หลายชนิดที่มีแม่เหล็กซ่อนอยู่ เช่น โทรศัพท์มือถือ รถยนต์ หรือในตู้เย็นก็ตาม ซึ่งเทคโนโลยีล่าสุดช่วยให้เราเข้าใจการทำงานของแม่เหล็กมากขึ้น และอาจนำไปสู่การพัฒนาเครื่องจักรในอนาคต ที่ช่วยลดต้นทุนและเพิ่มพลังงานให้มากขึ้น

    จากรูปด้านล่าง

    ภาพบนสุดคือภาพกราฟฟิกที่แสดงโครงสร้างของอุปกรณ์นี้ โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางหยาบๆ ประมาณเส้นผม

    ภาพล่างเป็นภาพขยายบริเวณส่วนกลางของอุปกรณ์นี้ โดยจุดสีขาวแสดงขนาดอะตอม และวงกลมสีขาวคือแม่เหล็กนาโน ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของแบตเตอรีชนิดนี้

    ที่มา: http://www.sciencedaily.com/releases/2009/03/090311162807.htm

    [​IMG]
     
  8. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ข้อมูลเพิ่มเติมของเทคโนโลยี การปั่นไฟบนพื้นถนนของญี่ปุ่นครับ


    "พื้นพลังงานจลน์" ในญี่ปุ่น
    ที่ญี่ปุ่น ที่ไม่ว่ามองไปทางไหน ก็เห็นคนแต่งสูทเดินไปมากันขวักไขว่ ด้วยเหตุนี้เองจึงมีการสร้างทางเดินพลังงานจลน์ขึ้น
    ทุกการย่ำเท้าผ่านพื้นที่ขนาด 25 ตารางเมตร จะมีการเคลื่อนไหว และทุกการเคลื่อนไหว ก็แปรเปลี่ยนไปเป็นพลังงานจลน์ ซึ่งนำไปผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าได้ในที่สุด ซึ่งคาดว่าจะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าจากพื้นพลังงานจลน์นี้ได้ถึง 1,400 กิโลวัตต์/วินาที ในแต่ละวัน

    ซึ่งก็สามารถนำกระแสไฟที่ได้ไปจ่ายให้กับเครื่องจ่ายตั๋วอิเล็กทรอนิกส์ และประตูไฟฟ้าได้ ถือว่าเป็นแนวคิดที่ฉลาดหลักแหลมมากทีเดียว

    และนี่คือโฉมหน้าของพื้นปั่นไฟที่ตั้งอยู่ในทางเดินเข้าไปยังสถานีรถไฟที่ชิบูย่า

    [​IMG]



    บ้านเราก็ยิ่งน่าจะรับเทคโนโลยีดีๆ แบบนี้มาปรับใช้ไวๆ นะคะ จะได้ไม่เปลืองไฟ แถมได้พลังงานที่สะอาดด้วย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2009
  9. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    ถ้ายังไม่สะใจ - ยังมีวิธีการปั่นไฟอีกแบบครับ

    ประตูปั่นไฟบานแรกของโลก!

    [​IMG]

    "ประตูหมุน" เหมือนที่เราเห็น (แต่ไม่อยากใช้) ที่สนามบินสุวรรณภูมิ มีคนหยิบไปทำใหม่ ที่นอกจากจะไม่เปลืองไฟเวลาไม่มีคนใช้แล้ว ยังสามารถปั่นไฟฟ้าได้เองจากการเดินผ่านให้ประตูหมุนอีกด้วย!

    ใครรักสิ่งแวดล้อม และ ปลื้มเทคโนโลยีสะอาดต้องไม่พลาดเรื่องนี้

    ระหว่างทางเดินไปยังสถานีรถไฟใต้ดิน ใกล้ๆ กับ Natuurcafé La Port ร้านกาแฟในเนเธอร์แลนด์ ได้มีประตูหมุน ที่ออกแบบเป็นพิเศษ เพื่อสร้างพลังงานไฟฟ้า โดยอาศัยพลังงานจลน์ (Kinetic Energy) ที่ได้จากการเปิดให้ประตูหมุนไปมา โดยผู้พัฒนาประตูนี้เชื่อว่าถ้ามีคนเปิดประตูนี้ตลอด 1 ปี จะสามารถสร้างพลังงานได้ถึง 4,600 วัตต์/ปี หรือเพียงพอสำหรับค่าไฟของบ้านเรือนในสหรัฐ 1 หลัง ตลอดทั้ง 5 เดือน!!!


    [​IMG]

    [​IMG]


    โดยที่ด้านมุมบนของประตูจะมีจอแอลซีดีระบุตัวเลขจำนวนพลังงานไฟฟ้าที่สามารถผลิตได้เพื่อให้ผู้ใช้งานได้เห็นและภูมิใจที่ตัวเองได้มีส่วนร่วมในการสร้างกระแสไฟฟ้า

    ตามโรงพยาบาล มหาวิทยาลัย ในประเทศเรา น่าจะมีใช้บ้างนะครับ เท่ด้วย ช่วยสิ่งแวดล้อมด้วย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2009
  10. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    อยากได้จักรยานแบบนี้สักคัน

    จักรยานไฟฟ้าที่ได้แรงบันดาลใจจากม้ายูนิคอร์น


    [​IMG]


    นักศึกษาเวียดนามเก่ง และสมใจ เมื่อผลงานออกแบบจักรยานพับได้ ดีไซน์สุดล้ำ ได้ถูกนำผลิตออกมาเป็นผลงานจริงที่ขี่ได้จริง


    Truong Minh Nhat คือ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยโฮจิมิน ซิตี้ แห่งเวียดนามได้ออกแบบจักรยานไฟฟ่า ที่ชื่อว่า "Capella" ซึ่งได้แรงบันดาลใจมาจากม้ายูนิคอร์นในเทพนิยายกรีก น้ำหนักเบา รูปทรงเท่ พับเพื่อพกพาไปไหนมาไหนได้ ที่สำคัญจดสิทธิบัตรไว้เรียบร้อย หลังจากตระเวนไปทั่วเมืองเพื่อหาผู้ที่จะร่วมผลิตชิ้นส่วนจักรยานี้ และต้องประกอบมันให้ทันเพื่อส่งเป็นผลงานวิทยานิพนธ์ก่อนจบการศึกษา และเขาเองก็หวังว่าจะดัดแปลง และปรับปรุงชิ้นส่วนอีกหน่อย เพื่อให้น้ำหนักเบาประมาณ 10 กิโลกรัม และทำขายจริงในตลาดเวียดนาม
    แหล่งข่าว

     
  11. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    เผื่อว่า ใครอยากลองทำกังหันลมเอง แบบ Low Tech และ Low Cost ให้ดูและไปประยุกต์เอาเองครับ



    กังหันลมโบราณของไทย

    [​IMG]

    กังหันที่เราเห็นกัน ไม่ใช่เริ่มมีการใช้ในยุคปัจจุบันค่ะ แต่บ้านเรากังหันมีการใช้มาเป็นระยะเวลานานจนมาถึงปัจจุบัน ที่เราเห็นจะคุ้นเคยกันก็คือการใช้กังหันลมในการทำนาเกลือ ที่คิดค้นขึ้นจากภูมิปัญญาไทยเลยค่ะ คนไทยเรานี่เก่งจริงๆนะคะ

    วันนี้หนูอุ่มขอพาพี่ๆไปทำความรู้จักกับกังหันโบราณของคนไทยกันดีกว่าคะ

    กังหันลมแบบระหัดฉุดน้ำเป็นการประดิษฐ์คิดค้นขึ้นด้วยภูมิปัญญาชาวบ้านในสมัยโบราณของไทย เพื่อใช้ในนาข้าว นาเกลือและนากุ้ง เช่นเดียวกันกับการประดิษฐ์กังหันลมวินด์มิลล์ (Windmills) เพื่อฉุดน้ำและใช้แรงกลช่วยในการแปรผลิตผลทางการเกษตรของชาวยุโรป


    วัสดุที่ใช้ประดิษฐ์กังหันลมแบบระหัดฉุดน้ำ เป็นวัสดุที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น ราคาถูกและมีความเหมาะสมต่อการใช้งานตามสภาพพื้นที่ภูมิประเทศ


    ใบพัดกังหันลมปกติจะมีจำนวน6 ใบพัด วัสดุที่ใช้ทำใบกังหันลมจะทำมาจากเสื่อลำแพนหรือผ้าใบ โดยตัวโครงเสา รางน้ำ และใบระหัด จะทำจากไม้เนื้อแข็งซึ่งมีความทนทานต่อน้ำเค็ม สามารถใช้งานได้ยาวนาน กังหันลมแบบระหัดฉุดน้ำใช้ความเร็วลมตั้งแต่ 2.5 เมตร/วินาที ขึ้นไปในการหมุนใบพัดกังหันลม หากมีลมแรงมากไปก็สามารถปรับม้วนใบเก็บให้เหลือสำหรับรับแรงลมเพียง 3 ใบ เพื่อให้มีความเหมาะสมสำหรับการใช้งาน เมื่อไม่ต้องการใช้งานก็ม้วนใบเก็บทั้ง 6 ใบ


    [​IMG]


    ส่วนประกอบที่สำคัญของกังหันลมแบบระหัดฉุดน้ำ

    1. ส่วนของใบพัด ก้านใบทำจากไม้ยึดติดกับแกนหมุน ใบรับลมทำจากเสื่อลำแพนหรือผ้าใบ ปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้แผ่นพลาสติก มีจำนวน 6 ใบ แกนหมุนตั้งในแนวนอนอยู่บนเสาไม้

    2. เสาของกังหันลม ทำจากไม้จำนวน 2 ต้น ปักไว้เป็นคู่เพื่อรองรับแกนหมุน

    3. สายพานขับแกนเพลา ทำจากเชือกที่มีความเหนียวและทนต่อแรงเสียดสี ทำหน้าที่ถ่ายแรงจากการหมุนของแกนหมุนไปยังแกนเพลาให้หมุนตามเพื่อใช้ฉุดระหัดไม้

    4. แกนเพลา ทำจากเหล็กหรือไม้กลม วางอยู่บนเสาไม้คู่เหนือพื้นดินที่พอเหมาะ มีซี่ไม้ลักษณะคล้ายเฟืองยึดติดกลางแกนเพลาเพื่อขับหมุนฉุดแผ่นระหัด


    5. ส่วนของรางน้ำและระหัด ทำจากไม้ ลักษณะรางน้ำเป็นกล่องรางไม้ตัวยู (u) หงายขึ้น พาดเฉียงระหว่างท้องน้ำกับพื้นนาเกลือแล้วใช้ไม้แผ่นขนาดเท่าหน้าตัดของกล่องรางน้ำทำระหัดเรียงต่อกันเป็นซี่ๆ ด้วยเชือกหรือโซ่ห่างกันพอประมาณเพื่อกักเก็บและฉุดน้ำเคลื่อนตัวจากที่ต่ำขึ้นที่สูง


    จำนวนกังหันลมดังกล่าวลดลงอย่างรวดเร็วเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงจากการพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมเป็นอุตสาหกรรม และการเข้ามาแทนที่ของเครื่องยนต์สูบน้ำ ในปัจจุบันจำนวนกังหันลมเหลืออยู่น้อยมาก กังหันลมดังกล่าวถือได้ว่าเป็นชนิดดั้งเดิมจากภูมิปัญญาชาวบ้านของคนไทยโบราณ ที่สามารถใช้พลังงานลมทดแทนพลังงานไฟฟ้าเพื่อสูบน้ำได้เป็นอย่างดี ในอนาคตคงหาดูได้ยากและอาจสูญหายหากไม่มีการอนุรักษ์ไว้
     
  12. boontar

    boontar เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    2,717
    ค่าพลัง:
    +5,514
    virus มาเยี่ยมผมครับ เครื่องรวนหน่อย
    เห็นรูปปุ่มเหยียบให้คนเดินผ่านในรูปของคุณ
    Pew Pew<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1968849", true); </SCRIPT> แล้วครับ
    ใน#203กับ#208 รูปของญี่ปุ่น
    Conceptเดียวกับของคุณ ธวัชชัย ไร่ดี นักวิจัย
    ชื่อโครงการ พลังงานไฟฟ้าจากถนน
    คือเปลี่ยนจากปุ่มให้คนเหยียบเป็นปุ่มให้รถแล่นทับ
    เค้าจะฝังปุ่มยางไว้บนถนนเยอะแยะ
    เมื่อรถทับปุ่มก็จะกดปุ่มยางอัดลมเข้าถังเก็บลมไปปั่นไฟ
    เจ้าของโครงการบอกว่า ถ้าวางปุ่มเต็มถนนวิภาวดีระยะ 1 กม.
    เมื่อมีรถแล่นผ่านแสนคัน(ประมาณ 1 วัน)
    ผลิตไฟฟ้าได้ 55 Megwattsต่อวันซึ่งไม่น้อยทีเดียว
    แม้จะได้ไม่เต็มจำนวนที่คาดแต่ก็อาจคุ้มทุนไม่นานนักครับ
    ในรูปก็คือคุณ ธวัชชัยฯ กับผลงานวิจัยครับ

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  13. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    กระทู้นี้มีขาประจำคึกคักเลยทีเดียวครับ
     
  14. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ลองมาจินตนาการเล่นๆ ถึงโครงการเมก้าโปรเจ็คค์โครงการหนึ่งซึ่งเกือบๆจะเกิด และเป็นโครงการที่ช่วยแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ รวมถึงช่วยลดต้นทุนการขนส่ง สร้างพลังงานได้มหาศาลอีกด้วย

    โครงการนี้คือโครงการสร้างสะพานเชื่อมอ่าวไทย ชลบุรี-เพชรบุรี

    ซึ่งสามารถลัดเส้นทางการขนส่งและการเดินทางจากอีสเทิร์นซีบอร์ด ไปยังเซาท์เทิร์นซีบอร์ด ไปได้ประมาณ 300กิโลเมตร ให้เหลือเพียง 60กิโลเมตรเท่านั้น รวมทั้ง แนวสะพานยังสามารถทำแนวชัตเตอร์เพื่อกันระดับน้ำทะเลขึ้นลง เป็นการป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพในอนาคตได้อีกด้วย

    แต่ช้าก่อน เรายังสามารถใช้ความรู้และเทคโนโลยี่ในปัจจุบันได้มากกว่านี้

    ลองหลับตาจิตนาการต่อไปถึง

    -สะพานที่มีระบบการขนส่งทางราง(รถไฟฟ้าเบา)เชื่อมต่อระหว่างชลบุรี -เพชรบุรี นั่นหมายถึง นักท่องเที่ยวจากพัทยา ชลบุรี ไปเที่ยวหัวหินหรือทะเลใต้ต่อไปได้เลย ไม่ต้องไปรถติดในเมืองในกรุงเทพ

    การขนส่งทางรางทำให้ต้นทุนการขนส่งสินค้าลดลงอย่างมหาศาล

    -ยังก่อนแนวแกนสะพานเราเดินท่อส่ง ไปป์ปิ้งเนทเวอร์ค ซึ่งสามารถขนส่งน้ำมันและ๊ก๊าซธรรมชาติได้อีก ซึ่งทำให้ต้นทุนค่าขนส่งน้ำมันลดลงอีกมหาศาลเช่นกัน

    -แ่ต่ไหนๆก็ไหนๆ เราเดินท่อไฟเบอร์ออฟติคเวอร์ชั่นใหม่ความเร็วสูงเชื่อมต่อการสื่อสารของสองภูมิภาคให้มีประสิทธิภาพสูงได้อีก

    -แต่สะพานอยู่กลางทะเลมีทั้งคลื่นและลม อย่ากระนั้นเลย เสาตอม่อสะพานเราติด เครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังงานคลื่นไปอีกได้ โดยอาศัยการกระเพื่อมการยกตัวของคลื่นที่มีพลังงานศักย์มหาศาลแรงบิดมากมาย ซึ่งแต่ละตัวผลิตไฟฟ้าได้หลายสิบเมก้าวัตต์

    ริมขอบทางสะพานที่มีลมทะเลพัดแรงตลอดเวลา เราก็ติดกังหันลมชนิดเวอร์ติคอล ตลอดแนวอีก

    หากเทคโนโลยี่ถนนผลิตไฟฟ้าเรารองรับได้ ตลอดเส้นทาง 60 กิโลเมตร ผลิตไฟฟ้าได้อีกมหาศาล

    กลายเป็นสะพานที่ผลิตพลังงานสะอาดและพลังงานทดแทนที่ใหญ่ที่สุดในโลก จ่ายไฟส่งให้ทั้งสองด้านของสะพาน คือกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมในโซนชลบุรี เมืองพัทยา และฝั่งเพชรบุรี ชะอำ หัวหิน

    และเนื่องจากเป็นโครงการพลังงานสะอาด เราขายCDM ให้ประเทศพัฒนาแล้ว ตามสนธิสัญญาเกียวโตได้อีก

    -แต่สะพานที่ทอดยาวเหนืออ่าวไทยนี้ ก็น่าจะมีเสน่หดึงดูดใจมากกว่านี้
    สร้างโรงแรมกลางอ่าวไทย บนจุดพักสะพาน พร้อมๆกับสร้างห้องพักที่เป็นกระจกมองเห็นใต้ทะเลปะการัง ที่สวยงามเป็้นที่เดียวในโลกไปด้วยซะเลย

    และฐานตอม่อสะพานเราทำแนวปะการังเทียมเพื่อให้ปะการังมาก่อตัวเสริมความแข็งแรงให้ฐานรากของสะพานเพิ่มขึ้นทุกปี

    รวมทั้งเป็นแหล่งอนุบาลปลา ให้เป็นที่วางไข่ ในแนวปะการัง เป็นการสร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับอ่าวไทยไปในตัว ชาวประมงไม่ต้องออกเรือไปไกลอยู่ในแนวสะพานก็พอ ประหยัดน้ำมันเพิ่มขึ้นไปอีก

    สรุปแล้วแม้จะใช้เงินทุนเยอะมากๆ แต่คุ้มค่ากับประเทศไทยในระยะยาว

    เอาแค่หากกรุงเทพจมน้ำทะเลนี่ความเสียหายประมาณไม่ได้เกินแสนล้านบาทแน่นอน

    โครงการนี้เคยมีผู้ใหญ่ที่เสนอแนวคิดต่อเนื่องมาตลอดครับ ซึ่งก็มีการพัฒนามาตลอดครับ

    เมื่อถึงวาระที่คนดีเข้ามาช่วยเหลือบ้านเมือง โครงการที่เน้นหนักเพื่อประเทศชาติเป็นสำคัญก็จะปรากฏเป็นปกติ
     
  15. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=1001 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left colSpan=3 height=117><TABLE id=Table_07 height=117 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=995 border=0><TBODY><TR><TD width=765 height=117><OBJECT codeBase=http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=7,0,19,0 height=117 width=765 classid=clsid:D27CDB6E-AE6D-11cf-96B8-444553540000>
























    <embed src="images/flashtop.swf" quality="high" pluginspage="http://www.macromedia.com/go/getflashplayer" type="application/x-shockwave-flash" width="765" height="117"></embed> </OBJECT></TD><TD width=230></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left width=26 height=603><TABLE id=Table_05 height=420 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=26 border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top align=left width=745><TABLE id=Table_box style="WIDTH: 469px; HEIGHT: 653px" height=653 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=469 border=0><TBODY><TR><TD width=11 height=11></TD><TD vAlign=top align=left background=images/boybdream_box_06.jpg></TD><TD width=10></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left background=images/boybdream_box_11.gif></TD><TD vAlign=top align=left bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left width=61></TD><TD vAlign=top align=left>มทร.ธัญบุรีเดินหน้าวิจัยพลังงานสะอาด ผุดอาคารประยุกต์ลม-น้ำ-แสงอาทิตย์

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD> </TD></TR><TR><TD align=middle><SCRIPT type=text/javascript><!--google_ad_client = "pub-1202499978503919";/* 336x280, created 6/10/08 */google_ad_slot = "6178776423";google_ad_width = 336;google_ad_height = 280;google_language = 'en';//--></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/expansion_embed.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>window.google_render_ad();</SCRIPT></TD></TR><TR><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center height=250><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=http://www.manager.co.th/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=http://www.manager.co.th/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=http://www.manager.co.th/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=http://www.manager.co.th/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>อาคารวิจัยประยุกต์ พลังงานลม น้ำ และแสงอาทิตย์</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></P>
    ขณะที่หลายมหาวิทยาลัยต่างดึงจุดเด่นของตนเองออกมาแข่งขันอวดศักยภาพแก่โลก อาคารเล็ก ๆ แห่งหนึ่งของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีก็กำลังเดินหน้าวิจัยเทคโนโลยีสะอาดอย่างขะมักเขม้นไม่แพ้กัน นั่นก็คืออาคารวิจัยประยุกต์ พลังงานลม น้ำ และแสงอาทิตย์ ของ ดร.วิชัย โรยนรินทร์ ผู้อำนวยการกลุ่มพลังงานทดแทนนั่นเอง

    สำหรับอาคารดังกล่าวสร้างขึ้นบนพื้นที่ไม่ใหญ่ไม่เล็กของ มทร.ธัญบุรี ด้วยรูปทรงแปลกตา มีลักษณะเป็นหลังคาทรงลาดเท ครึ่งวงกลมสองวงเทเข้าหากัน ซึ่งรูปแบบของหลังคาดังกล่าวเป็นเทคนิคในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานแบบหนึ่ง เมื่อใดที่มีฝนตก น้ำจะไหลมารวมกันที่จุดศูนย์กลาง ทำให้น้ำมีกำลังแรงพอต่อการปั่นไฟเก็บไว้ในแบตเตอรี่ได้

    ขณะที่ด้านบนของหลังคา ในอนาคตจะมีการติดตั้งแผงโซลาเซลล์ สำหรับรับพลังงานแสงอาทิตย์มาเก็บสำรองไว้ในแบตเตอรี่ เพื่อใช้ในเวลากลางคืน โดยการออกแบบหลังคาในลักษณะดังกล่าวช่วยให้รับแสงอาทิตย์ได้ดี

    ไกลออกไปประมาณ 10 เมตร เราก็ได้พบกับกังหันลมตัวมหึมา ยืนท้าแดดท้าฝนอยู่ ซึ่งกังหันลมดังกล่าวก็เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการปั่นไฟเก็บเข้าแบตเตอรี่ด้วยเช่นกัน

    ภาพรวมของอาคารวิจัยประยุกต์สองชั้นของ มทร.ธัญบุรีจึงเป็นอีกหนึ่งอาคารต้นแบบที่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานธรรมชาติ ทั้ง น้ำ ลม แสงแดด มาใช้ เพื่อหล่อเลี้ยงตัวอาคารได้ ภายใต้งบประมาณในการก่อสร้างราว 2 ล้านบาทเท่านั้น

    ดร.วิชัย โรยนรินทร์ ผู้ออกแบบอาคารดังกล่าวเปิดเผยว่า "อาคารหลังนี้สร้างขึ้น เพื่อรองรับการวิจัยฟาร์มกังหันลมที่ติดตั้ง ณ เกาะล้าน เมืองพัทยา ซึ่งในขณะนั้น อาจกล่าวได้ว่าผมเป็นนักวิจัยชาวไทยเพียงคนเดียวที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของกังหันลม ขณะที่มหาวิทยาลัยแห่งอื่น ๆ ไม่มีผู้เชี่ยวชาญโดยตรง ดังนั้น เมื่อทางเกาะล้านพิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการติดตั้งกังหันลมจำนวน 45 ตัว เพื่อใช้ปั่นไฟจ่ายให้กับชาวบ้านบนเกาะ ทางมทร.ธัญบุรีจึงได้รับโครงการนี้มาทำ และถือเป็นโครงการวิจัยไปด้วย ซึ่งผมได้สร้างทีมงาน และต้นแบบกังหันลมที่จะนำไปติดที่เกาะ โดยใช้อาคารแห่งนี้เป็นสถานที่ในการทดสอบ และหลังจากติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว อาคารแห่งนี้ก็จะใช้ เพื่อการวิจัยพลังงานสะอาดต่อไป"

    นอกเหนือจากความสามารถในการผลิตกระแสไฟฟ้าจากลม น้ำ และแสงอาทิตย์แล้ว รูปแบบของอาคารยังทำให้ลดการใช้พลังงานลงได้เป็นอย่างดี ยกตัวอย่างเช่น พื้นที่ตั้งของตัวอาคารจะเป็นแนวเฉียง ระหว่างทิศตะวันตกกับทิศตะวันออก ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการรับแสงแดดโดยตรง ขณะที่ผนังอาคารที่อยู่ในด้านตะวันตก และตะวันออกจะมีความหนามากกว่าผนังอาคารในด้านทิศเหนือ และทิศใต้ เพื่อป้องกันความร้อนเข้าสู่ตัวอาคาร และหากมีพื้นที่ปลูกต้นไม้ในทิศตะวันออก - ตก ก็จะสามารถบังแสงอาทิตย์ให้กับอาคารได้ ฯลฯ

    นอกจากนั้น ทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีก็มีแผนจะพัฒนาอาคารดังกล่าวให้เป็นศูนย์กลางในการออกประกาศนียบัตรรับรองให้กับผู้ผลิตกังหันลมที่ต้องการเข้ามาทำตลาดในประเทศไทยด้วย โดย ดร.วิชัย กล่าวว่า "หลังจากที่เราได้ออกแบบ และพัฒนากังหันลมขึ้นใช้ในเมืองไทย ก็มีบริษัทต่างชาติหลายแห่งให้ความสนใจ และต้องการนำกังหันลมเข้ามาทำตลาดบ้าง แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ กังหันลมของบางบริษัทไม่เหมาะกับการใช้งานในประเทศไทย ทำให้ไม่สามารถปั่นไฟได้ตามความต้องการ ทาง มทร.ธัญบุรีจึงมีแผนจะสร้างศูนย์สำหรับทดสอบชุดกังหันลม เพื่อการใช้งานในประเทศไทย รวมถึงการให้ประกาศนียบัตรรับรอง เพื่อให้เป็นมาตรฐานด้วย หรือในกรณีที่บริษัทต่างชาติต้องการให้ช่วยปรับปรุงใบพัดให้เหมาะสมกับการใช้งานในประเทศไทยก็สามารถทำได้เช่นกัน"
     
  16. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    หลายเทคโนโลยี่สะอาดพร้อมแล้วครับแต่ต้องรอเวลาหน่อย
     
  17. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    โครงการเมกกะโปรเจกนั้น เมื่อก่อนเขาคิดกันเพื่อชาติ เดี๋ยวนี้ ส่วนใหญ่ส่วนใหญ่คิดเพื่อเกมส์การเมือง ไร้สาระทั้งน้าน...

    พวกเรามีหน้าที่เพียงรวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ มาเผยแพร่ ให้กับชุมชนย่อยๆ หากผู้ใด ได้อ่าน ก็เป็นฐานข้อมูลไปเล่าต่อ ไปบอกต่อ และเป็นไอเดีย เป็นหัวเชื้อเอาไว้ หากวันดี มีดอกาสจะคิด จะเสนอ ก็เอาไปประยุกต์ ต่อยอดเอา ตามช่องทางของตนเอง เท่านี้ ก็น่าจะพอเพียงแล้วครับ

    พอใจแบบพอเพียงครับ
     
  18. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    เดี๋ยวนี้เขาก้าวหน้ากันไปถึงไหนกันแล้ว ชักตามไม่ค่อยทัน

    หุ่นยนต์นางแบบ !!!

    [​IMG] [​IMG]
    [​IMG] [​IMG]

    เห็นเขาว่าราคาราว 72 ล้านเอง ( ไม่ค่อยเกี่ยวกับกระทู้เลย นิ )
     
  19. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เลยรวมรวบยอดมาเป็นกระทู้เดียวครับ พลังงานทดแทน เทคโนโลยี่
     
  20. Pew Pew

    Pew Pew เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    670
    ค่าพลัง:
    +1,807
    Mega Project !!!!
    ฟาร์มพลังงานลมใหญ่ที่สุดในโลก

    [​IMG]

    หลังจากใช้เวลาก่อสร้างมาถึง 3 ปีเต็ม Melancthon EcoPower Centre ณ แคนาดาก็กลายเป็น "ฟาร์มพลังงานลมใหญ่ที่สุดในโลก" คาดว่ากังหันลมกว่า 133 เครื่องจะสามารถสร้างผลผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า 545 กิกะวัตต์ต่อชั่วโมง ซึ่งเพียงพอต่อการใช้งานของบ้านเรือนกว่า 70,000 หลังคาเรือนเลยทีเดียว

    [​IMG]


    นอกจากนี้แคนาดายังเตรียมตัวเป็นอย่างที่ดีของประเทศตะวันตกที่เตรียมพร้อมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของภาวะโลกร้อน โดยไม่ทำให้มันทวีความร้อนขึ้นอีกโดยการวางแผนที่จะปิดโรงงานถ่านหินภายใน 6 ปีข้างหน้า และจะพึ่งพาเฉพาะพลังงานทดแทนที่สะอาด และไม่ก่อให้เกิดมลพิษอย่าง พลังงานลม และพลังงานไฟฟ้าแทน
     

แชร์หน้านี้

Loading...