ปรียนันท์ธรรมสถาน เพื่อปฏิบัติและหลบภัย

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย thavornsiripat, 8 มิถุนายน 2007.

  1. tamsak

    tamsak ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กันยายน 2004
    โพสต์:
    7,857
    กระทู้เรื่องเด่น:
    22
    ค่าพลัง:
    +161,172
    อยากไปร่วมทริปปลูกต้นไม้และสร้างสาธารณูปโภคในครั้งนี้ด้วย แต่วันเสาร์ที่ 8 ก.ย. 2550 ติดงานแสดงมุทิตาจิตแก่ รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ซึ่งกำลังจะเกษียณอายุราชการในตอนสิ้นเดือนนี้ ท่านเป็นผู้มีพระคุณที่สำคัญคนหนึ่ง ไม่มีท่านผมก็คงไม่สามารถบรรลุความสำเร็จในด้านการศึกษา จึงทำให้ไม่สามารถไปร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ได้

    ผมขอส่งใจไปร่วมด้วยนะครับ ได้แต่เฝ้าดูมาหลายทริปแล้ว ยังไม่มีโอกาสได้ไปร่วมทำสิ่งดีๆ ณ สถานที่ปฏิบัติธรรมแห่งนี้เลย คิดว่าเร็วๆ นี้คงมีโอกาสไปร่วมกิจกรรมด้วยสักครั้ง

    ผมขอโมทนาบุญกับทุกท่านที่ร่วมกันสร้างสถานปฏิบัติธรรมแห่งนี้ และขอโมทนาบุญกับทุกท่านที่ร่วมสร้างพระประธานสมเด็จองค์ปฐมทรงเครื่องจักรพรรดิด้วยครับ


    .
     
  2. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    วันนี้รอท่อ PE จนถึง 10 โมง...ทางร้านแจ้งว่า...โรงงานทำท่อยังไม่มาส่ง อาจต้องเป็นวันจันทร์

    .
    .
    .
    .
    หรือวันถัดไป ?
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 กันยายน 2007
  3. zest&live&learn

    zest&live&learn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กันยายน 2007
    โพสต์:
    11
    ค่าพลัง:
    +244
    สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทนา วันทามิ

    ฉันจะไป ฉันจะไป ต้องไปร่วมบุญกับท่านพี่ทุกๆท่านแน่นอนจ้า

    ขอจัดตารางชีวิตให้ลงตัวก่อนนะจ๊ะ แล้วเจอกันแน่นอน

    โมทนาบุญทุกท่านจ้า








    [b-wai] [b-wai] [b-wai]
     
  4. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    [​IMG]
    1. ชื่อ กระท้อน
    2. ชื่ออื่น เตียน ล่อน สะท้อน (ภาคใต้) มะต้อง (ภาคเหนือ-อุดรธานี) มะติ๋น (ภาคเหนือ) สตียา สะตู (มาเลเซีย-นราธิวาส) สะโต (มาเลเซีย-ปัตตานี)
    3. ชื่อวิทยาศาสตร์ Sandoricum indicum Cav. มีชื่อพ้องทางพฤกษศาสตร์ว่า S. Koetjape Merr.
    4. วงศ์ MELIACEAE
    5. ชื่อสามัญ Sentul , Santol , Red Sentol , Yellow Sentol
    6. แหล่งที่พบ พบตามทั่วไปของทุกภาค
    7. ประเภทไม้ ไม้ยืนต้น
    [​IMG]
    8. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
    <DL><DD>ต้น ไม้ไม่ผลัดใบที่มีลำต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-40 เมตร ลำต้นเปลาตรงแต่กิ่งก้านต่ำ อาจมีพูพอนบ้างเล็กน้อย เปลือกสีเทาอมน้ำตาลค่อนข้างเรียบ เปลือกในสีชมพู เรือนยอดเป็นพุ่มรูปไข่ ทึบ กิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนสีเทานุ่มๆ ทั่วไป </DD></DL><DL><DD>ใบ ใบประกอบออกเป็นช่อ ช่อยาว 20-40 ซม. ช่อจะติดเรียงเวียนสลับกันไป ช่อหนึ่งๆ ประกอบด้วย ใบย่อยรูปไข่หรือรูปร่างรีๆ แกมรูปไข่ 3 ใบ สองใบล่างจะติดตรงข้ามกันหรือเยื้องกันเล็กน้อย ใบปลายช่อเป็นใบเดี่ยวๆ ขนาดกว้าง 6-14 ซม. ยาว 10-22 ซม. ใบปลายช่อจะมีขนาดใหญ่กว่าใบคู่ล่าง โคนใบมนและมักเบี้ยว ปลายใบสอบเป็นติ่งแหลมทู่ๆ เนื้อใบค่อนข้างหนา ท้องใบมีขนสีนวลๆ นุ่มหนาแน่น ส่วนหลังใบมีขนสากๆ ประปราย และสีเข้มกว่าทางด้านท้องใบ เส้นแขนงใบมี 8-17 คู่ เส้นมักเหยียด ชี้ไม่โค้งอ่อน ขอบใบเรียบ ก้านช่อใบยาว 5-15 ซม. มีขนนุ่มๆ หนาแน่น ใบแก่จะมีสีแดงอมส้ม ใบแก่จัดจะออกสีแดงอิฐหรือสีแสด </DD></DL><DL><DD>ดอก มีขนาดเล็ก สีเหลืองอ่อนหรือสีเขียวอ่อนอมเหลือง กลิ่นหอมอ่อนๆ เป็นดอกสมบูรณ์เพศ ออกรวมกันเป็นช่อ ที่ไม่แยกแขนงตามปลายกิ่งและตามง่ามใบใกล้ๆ ปลายกิ่ง ช่อยาว 5-15 ซม. มีขนนุ่มทั่วไป โคนกลีบฐานดอกติดกันเป็นรูปถ้วยปากกว้าง ขอบถ้วยแยกเป็นแฉกเล็กๆ 4-5 แฉก มีขนทั้งสองด้าน โคนกลีบดอกติดกันเป็นรูปทรงกระบอก ปลายแยกเป็นแฉกรูปขอบขนาน 4 แฉก เมื่อดอกบานเต็มที่แฉกกลีบจะพับกลับย้อนไปทางโคนดอก เกสรตัวผู้จะติดกันเป็นหลอดห่อหุ้มรังไข่กลมหรือแป้นเล็กน้อย มีขนนุ่ม ภายในแบ่งเป็น 5 ช่อง แต่ละช่องมีไข่อ่อนหนึ่งหน่วย </DD></DL><DL><DD>ผล มีลักษณะกลมหรือค่อนข้างแบนเล็กน้อย อาจมีจุดประตามผิว อุ้มน้ำผลโต เส้นผ่าศูนย์กลาง 5-8 ซม. ผิวผลมีขนนุ่ม ผลอ่อนมีสีเขียวเมื่อแก่จะมีสีเหลืองหรือเหลืองอมน้ำตาล มีรอยย่นเป็นเส้นๆ ที่ขั้วผล เนื้อในหนารูปไต เรียงตัวตามแนวตั้ง 5 เมล็ด รอบๆ เมล็ดเป็นเนื้อเยื่อสีขาวห่อหุ้ม รสหวาน หวานอมเปรี้ยว หรือเปรี้ยวขึ้นอยู่กับพันธุ์ </DD></DL>
    9. ส่วนที่ใช้บริโภค ผลแก่
    10. การขยายพันธุ์ เมล็ด การตอนกิ่ง ทาบกิ่ง
    11. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เจริญเติบโตได้ดีในดินเกือบทุกชนิด ทนทานสภาพแห้งแล้งได้ดี
    12. ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ มีนาคม - พฤษภาคม
    13. คุณค่าทางอาหาร คุณค่าทางอาหารในส่วนที่รับประทานได้ 100 กรัม ประกอบด้วย
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 border=1><TBODY><TR><TH></TH><TH>Cal </TH><TH>Moist ure </TH><TH>Protein </TH><TH>Fat </TH><TH>CHO </TH><TH>Fibre </TH><TH>Ash . </TH><TH>Ca </TH><TH>P </TH><TH>Fe </TH><TH>A.I.U </TH><TH>B1 </TH><TH>B2 </TH><TH>Niacin </TH><TH>C </TH></TR><TR><TD></TD><TD>Unit </TD><TD>% </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD></TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD></TR><TR><TD>กระท้อน </TD><TD>57 </TD><TD>84.5 </TD><TD>0.4 </TD><TD>0.7 </TD><TD>13.9 </TD><TD>1 </TD><TD>- </TD><TD>9 </TD><TD>17 </TD><TD>1.2 </TD><TD>83 </TD><TD>0.05 </TD><TD>0.03 </TD><TD>0.9 </TD><TD>14 </TD></TR></TBODY></TABLE>
    14. การปรุงอาหาร ผลนำมาปรุงอาหาร เช่น แกงส้ม แกงกะทิ แกงกระท้อนเป็นแกงโบราณของไทย ผลรับประทานสด 15. ลักษณะพิเศษ -
    16. ข้อควรระวัง -
    17. เอกสารอ้างอิง
    เต็ม สมิตินันทน์. 2523. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย (ชื่อพฤกษศาสตร์-ชื่อพื้นเมือง). กรมป่าไม้ 379 หน้า.
    สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2542. ผักพื้นบ้านภาคใต้ 279 หน้า.
    คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้และไม้โตเร็วอเนกประสงค์. 2540. ไม้อเนกประสงค์ กินได้ 486 หน้า.


    [แก้ไข] ที่มา

    http://singburi.doae.go.th/acri/index.htm
    กลับไปหัวข้อ ไม้ยืนต้น
    กลับไป ผัก
    กลับหน้าแรก
    <!-- Saved in parser cache with key palungji_wikidb:pcache:idhash:2056-0!1!0!!th!2 and timestamp 20070908135123 -->รับข้อมูลจาก "http://palungjitrescuedisaster.com/wiki/index.php/กระท้อน"
    <!-- end content -->
     
  5. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    มะตูม

    จาก PalungjitRescueDisaster


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->[​IMG][​IMG][​IMG]
    1. ชื่อพืช มะตูม
    2. ชื่ออื่นๆ กะทันตาเถร ตูม ตุ่มตัง(ปัตตานี ) พะโนงค์ (เขมร ) มะปิน (เหนือ) มะปิส่า (เขมร-แม่ฮ่องสอน)
    3. ชื่อวิทยาศาสตร์ Aegle marmelos (Linn) Corr
    4. วงศ์ RUTACEAE
    5. ชื่อสามัญ Bengel Quince Bilak , Bael , Bael , fruit
    6. แหล่งที่พบ มีอยู่ทั่วไปในทุกภูมิภาค
    7. ประเภทไม้ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง
    8. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
    <DL><DD>ลำต้น เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลักษณะลำต้นและกิ่งก้านมีหนามยาวแหลมคม ยาวประมาณ 2.5 ซม. ต้นสูงได้เต็มที่ไม่เกิน 10-15 เมตร ลำต้นเดียวตั้งตรง <DD>ใบ เป็นใบประกอบชนิด มีใบย่อย 3 ใบ ออกเวียนเป็นเกลียวรอบกิ่ง ใบย่อยรูปไข่หรือรูปหอกแกมรูปไข่ ปลายเรียวแหลมกว้าง 1.75-7.5 ซม. ยาว 4-13.5 ซม. ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อยฐานใบมน ก้านใบยาว ใบมีกลิ่นหอม </DD></DL><DL><DD>ดอก เป็นดอกช่อ ออกตรงปลายกิ่งหรือซอกใบ ดอกย่อยสีขาวหรือขาวปนเขียว กลิ่นหอม </DD></DL><DL><DD>ผล มีลักษณะเป็นรูปรีกลมหรือรียาว จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5-4 นิ้ว ยาวประมาณ 4-5.5 นิ้ว พื้นผิวเรียบเกลี้ยง เปลือกมันหนาแข็ง ผลอ่อนจะมีเปลือกเป็นสีเขียว เมื่อผลแก่หรือสุกเป็นสีเขียวอมเหลือง ภายในผลมีเนื้อเป็นสีส้มปนเหลือง เนื้อนิ่มมีเมล็ดจำนวนมากอยู่ในเนื้อ </DD></DL>9. การขยายพันธุ์ เมล็ด การตอนกิ่ง
    10. ฤดูกาล(เก็บเกี่ยว) ยอดอ่อน ตลอดปี ผลอ่อน ฤดูฝน
    11. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม พบได้ในป่าธรรมชาติ ประเภทป่าเบญจพรรณ ป่าผสมผลัดใบ ป่าแดง
    12. ส่วนที่ใช้และการใช้ประโยชน์ ยอดอ่อน ใบอ่อน รับประทานเป็นผักสด ร่วมกับ ลาบ ก้อย แจ่วป่น(ชาวใต้) น้ำพริกและแกงรสจัด(กลาง) มะตูมอ่อน ปรุงเป็นยำมะตูม ยอดอ่อนและใบอ่อนของมะตูม มีรสเผ็ดร้อน อมฝาด กลิ่นหอม เป็นยาบำรุงธาตุทำให้เจริญอาหาร แก้ท้องเดิน ผลมะตูมอ่อน เป็นยาบำรุงธาตุ ทำให้เจริญอาหาร แก้ลม แก้เสมหะ
    13. เอกสารอ้างอิง
    ผักพื้นบ้าน : ความหมายและภูมิปัญญาของสามัญชนไทย ฯลฯ หน้า 208-209
    [แก้ไข] ที่มา

    http://singburi.doae.go.th/acri/index.htm
    กลับไปหัวข้อ ไม้ยืนต้น
    กลับไป ผัก
    กลับหน้าแรก
    <!-- Saved in parser cache with key palungji_wikidb:pcache:idhash:1729-0!1!0!!th!2 and timestamp 20070908135222 -->รับข้อมูลจาก "http://palungjitrescuedisaster.com/wiki/index.php/มะตูม"
    <!-- end content -->
     
  6. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    มะเฟือง

    จาก PalungjitRescueDisaster


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->[​IMG][​IMG][​IMG]
    1. ชื่อ มะเฟือง
    2. ชื่ออื่น มะเฟืองเปรี้ยว มะเฟืองส้ม เฟือง สะบือ (เขมร)
    3. ชื่อวิทยาศาสตร์ Averrhoa carambola Linn.
    4. วงศ์ AVERRHOACEAE
    5. ชื่อสามัญ Carambola
    6. แหล่งที่พบ พบทั่วไปทุกภาค
    7. ประเภทไม้ ไม้ยืนต้น
    8. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
    ต้น ไม้ยืนต้นขนาดเล็กจนถึงขนาดกลางมีลำต้นเป็นสีน้ำตาลอ่อน เปลือกของลำต้นค่อนข้างขรุขระมีตุ่มเล็กๆ ทั่วไป
    ใบ ใบประกอบแบบขนนกออกเรียงกันเป็นคู่ๆ ไปตามแผง แผงหนึ่งมี 7-15 คู่ ลักษณะของใบย่อย เป็นรูปมนรีขอบขนานแกมใบหอก ปลายใบแหลม ริมขอบใบเรียบเกลี้ยง ใบย่อยตรงปลายมักมีขนาดใหญ่กว่าใบตรงโคนแผง
    ดอก ดอกออกเป็นช่อสั้นๆ อยู่ตามบริเวณกิ่งและลำต้น ดอกมีสีม่วงอ่อนเป็นดอกขนาดเล็ก
    ผล ลักษณะของผลเป็นรูปเฟืองมีกลีบอยู่ 5 กลีบ เมื่อยังอ่อนผลเป็นสีเขียว แต่พอผลสุกหรือแก่เต็มที่ ผลก็เปลี่ยนเป็นสีเหลืองส้ม ผลสดอวบน้ำมีสันโดยรอบผ่าตามขวางเป็นรูปดาว เมล็ดมีสีดำยาวเรียวยาวประมาณ 5 มม.

    9. ส่วนที่ใช้บริโภค ผล ยอดอ่อน ใบอ่อน
    10. การขยายพันธุ์ เมล็ด การตอนกิ่ง
    11. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนและดินทุกสภาพ ต้องการน้ำและความชื้นในปริมาณปานกลาง
    12. ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ตลอดปี

    13. คุณค่าทางอาหาร ผลมะเฟือง 100 กรัม มีคุณค่า
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 border=1><TBODY><TR><TH></TH><TH>Cal </TH><TH>Moist ure </TH><TH>Protein </TH><TH>Fat </TH><TH>CHO </TH><TH>Fibre </TH><TH>Ash . </TH><TH>Ca </TH><TH>P </TH><TH>Fe </TH><TH>A.I.U </TH><TH>B1 </TH><TH>B2 </TH><TH>Niacin </TH><TH>C </TH></TR><TR><TD></TD><TD>Unit </TD><TD>% </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD></TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD></TR><TR><TD>ผล </TD><TD>34 </TD><TD>92.3 </TD><TD>0.4 </TD><TD>0.1 </TD><TD>7.8 </TD><TD>1 </TD><TD>- </TD><TD>9 </TD><TD>15 </TD><TD>0.9 </TD><TD>267 </TD><TD>0.02 </TD><TD>0.17 </TD><TD>0.8 </TD><TD>28 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    14. การปรุงอาหาร ผล ใช้ยำเป็นเครื่องปรุงรส รับประทานกับแหนม ใบอ่อนรับประทานกับ ลาบ ก้อย
    15. ลักษณะพิเศษ -
    16. ข้อควรระวัง มีประจำเดือนห้ามกิน ตกขาว ถ้าตั้งครรภ์กินเข้าไปทำให้แท้ง
    17. เอกสารอ้างอิง กองโภชนาการ กรมอนามัย. 2530. ตารางแสดงคุณค่าอาหารไทยในส่วนที่กินได้ 100 กรัม. 48 หน้า.
    วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. 2531. พจนานุกรมสมุนไพรไทย. 880 หน้า.
    เต็ม สมิตินันทน์. 2523. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย (ชื่อพฤกษศาสตร์-ชื่อพื้นเมือง). กรมป่าไม้ 379 หน้า.
    มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทยและสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2541. มหัศจรรย์ผัก 108. พิมพ์ครั้งที่ 4.411 หน้า.
    สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2542. ผักพื้นบ้านภาคกลาง 279 หน้า.
    สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรสกลนคร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล กระทรวงศึกษาธิการ. ผลการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการผักพื้นบ้านอาหารธรรมกาชาติอีสาน ครั้งที่ 2. 177 หน้า.
    ที่มา http://singburi.doae.go.th/acri/index.htm
    กลับไปหัวข้อ ไม้ยืนต้น
    กลับไป ผัก
    กลับหน้าแรก
     
  7. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    มะกอกป่า

    จาก PalungjitRescueDisaster


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->[​IMG] [​IMG]
    ผลและยอดมะกอกป่า


    [​IMG] [​IMG]
    ยอดมะกอกป่า


    1. ชื่อ มะกอกป่า
    2. ชื่ออื่น กอกกัก มะกัก หมักกัก กอกกุก กูก กอกหมอง กอกเขา กอก มะกอดง ไพแซ หมากกอก มะกอกฝรั่ง กะไพ้ย ไพ้ย
    3. ชื่อวิทยาศาสตร์ Spondias pinnata Kurz.
    4. วงศ์ ANACARDIACEAE
    5. ชื่อสามัญ Hog Plum
    6. แหล่งที่พบ -
    7. ประเภทไม้ ไม้ยืนต้น
    8. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
    <DL><DD>ต้น เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูงประมาณ 10-40 เมตร ลำต้นตรงเรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่งๆ เปลือกสีเทาเรียบ กิ่งอ่อนจะมีรอยแผลเนื่องจากการหลุดร่วงของใบปรากฎอยู่ และมีต่อมระบายอากาศอยู่มาก </DD></DL><DL><DD>ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกเป็นช่อชั้นเดียว ใบย่อยออกเป็นคู่ตรงข้ามกันหรือเยื้องกันเล็กน้อย รูปไข่หรือรูปขอบขนาน 4-6 คู่ ขนาดใบกว้าง 3-4 ซม. ยาว 7-12 ซม. โคนเบี้ยวปลายใบมีใบยอด 1 ใบ ใบอ่อนสีน้ำตาลอมแดงเรื่อๆ ใบแก่สีเขียว เนื้อในค่อนข้างหนาเกลี้ยงและเป็นมัน </DD></DL><DL><DD>ดอก เป็นดอกช่อสีขาวออกตามซอกใบ หรือเหนือรอยแผลในตอนปลายๆ กิ่ง กลีบดอกและกลีบรองดอก มีอย่างละ 5 กลีบ </DD></DL><DL><DD>ผล รูปไข่ขนาดกว้าง 2.5-3.5 ซม. ยาว 3.5-4.5 ซม. ผลอ่อนสีเขียวและเมื่อแก่เป็นสีเหลืองอมเขียวและเหลืองจัดในที่สุด เนื้อหุ้มเมล็ดเปรี้ยว </DD></DL><DL><DD>เมล็ด มีขนาดใหญ่แข็งมากและมีเสี้ยนขรุขระ </DD></DL>9. ส่วนที่ใช้บริโภค ยอดอ่อน ใบอ่อน ผลแก่
    10. การขยายพันธุ์ เมล็ด ตอนกิ่ง
    11. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม พบตามป่าดิบแล้งทั่วไป ป่าทุ่ง ขึ้นกลางแจ้งและทนต่อแสงแดดได้ดี
    12. ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ฤดูฝน (ยอดอ่อน / ใบ ) ฤดู (ผล)
    13. คุณค่าทางอาหาร คุณค่าทางอาหารในส่วนที่รับประทานได้ 100 กรัม ประกอบด้วย
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 border=1><TBODY><TR><TH></TH><TH>Cal </TH><TH>Moist ure </TH><TH>Protein </TH><TH>Fat </TH><TH>CHO </TH><TH>Fibre </TH><TH>Ash . </TH><TH>Ca </TH><TH>P </TH><TH>Fe </TH><TH>A.I.U </TH><TH>B1 </TH><TH>B2 </TH><TH>Niacin </TH><TH>C </TH></TR><TR><TD></TD><TD>Unit </TD><TD>% </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD></TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD></TR><TR><TD>ยอดมะกอกป่า </TD><TD>280 </TD><TD>24.2 </TD><TD>2.7 </TD><TD>1 </TD><TD>55.1 </TD><TD>1 </TD><TD>1.4 </TD><TD>49 </TD><TD>80 </TD><TD>9.9 </TD><TD>5800 </TD><TD>0.96 </TD><TD>0.22 </TD><TD>1.92 </TD><TD>53 </TD></TR></TBODY></TABLE>14. การปรุงอาหาร ยอดอ่อน ใบอ่อน รับประทานเป็นผักสดร่วมกับน้ำพริก ลาบ ก้อย เต้าเจี้ยวหลน ผลสุก นำไปปรุงเป็นเครื่องเทศปรุงรส
    โดยหั่นเป็นชิ้นใส่ส้มตำมะละกอ หรือพล่ากุ้ง
    15. ลักษณะพิเศษ ยอดอ่อน ใบอ่อน รสเปรี้ยวอมหวานเล็กน้อย สรรพคุณแก้โรคธาตุพิการ แก้บิด ผลสุก รสเปรี้ยวเย็น หวานฝาด ทำให้ชุ่มคอแก้กระหายน้ำ แก้เลือดออกตามไรฟัน
    16. ข้อควรระวัง -
    17. เอกสารอ้างอิง
    กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2535. คุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. 97 หน้า.
    กองโภชนาการ กรมอนามัย. 2530. ตารางแสดงคุณค่าอาหารไทยในส่วนที่กินได้ 100 กรัม. 48 หน้า.
    เต็ม สมิตินันทน์. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย (ชื่อพฤกษศาสตร์-ชื่อพื้นเมือง). กรมป่าไม้ 379 หน้า.
    มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทยและสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2541. มหัศจรรย์ผัก 108. พิมพ์ครั้งที่ 4. 411 หน้า.
    ยิ่งยง ไพสุขศานติวัฒนา. 2539. ผักไทย-ยาไทย คู่มือการปรุงอาหารจากผักพื้นบ้านไทย. 77 หน้า.
    วัชรี ประชาศรัยสรเดช. 2542. ผักพื้นเมือง เหนือ อีสาน ใต้. 81 หน้า.
    สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2542. ผักพื้นบ้านภาคกลาง 279 หน้า.
    สำนักงานคณะกรรมการการสาธารณสุขมูลฐาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2538. ผักพื้นบ้าน : ความหมายและภูมิปัญญาของสามัญชนไทย 261 หน้า.
    [แก้ไข] ที่มา

    http://singburi.doae.go.th/acri/index.htm
    กลับไปหัวข้อ ไม้ยืนต้น
    กลับไป ผัก
    กลับหน้าแรก
    <!-- Saved in parser cache with key palungji_wikidb:pcache:idhash:1706-0!1!0!!th!2 and timestamp 20070908140133 -->รับข้อมูลจาก "http://palungjitrescuedisaster.com/wiki/index.php/มะกอกป่า"
    <!-- end content -->
     
  8. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    มะม่วงหิมพานต์

    จาก PalungjitRescueDisaster


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->[​IMG][​IMG][​IMG]
    1. ชื่อ มะม่วงหิมพานต์
    2. ชื่ออื่น ยอดครก ย่าหลวง ม่วงชูหน่วย มะม่วงกาสอ มะม่วงกุลา มะม่วงลังกา มะม่วงสิงหล(เหนือ) ยาหยี ยาโงย ยาร่วง(ใต้) มะม่วงหยอด มะม่วงลังกา มะม่วงไม่รู้หาว นายอ ท้ายล่อ ตำหยาว กายี กะแตแก กาหยู ม่วงเม็ดล่อ มะฆห้ย
    3. ชื่อวิทยาศาสตร์ Anacardium occidentale Linn.
    4. วงศ์ ANACARDIACEAE
    5. ชื่อสามัญ Cashew Nut Tree
    6. แหล่งที่พบ พบมากภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    7. ประเภทไม้ ไม้ยืนต้น
    8. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น ไม้ยืนต้นขนาดกลางลำต้นมีความสูง 8-10 เมตร ลำต้นเดี่ยวเนื้อไม้แข็งกิ่งแขนงแตกเป็นพุ่มแน่นทรงกลมถึงแผ่กระจาย เปลือกหนาผิวเรียบสีน้ำตาลเทา
    ใบ ใบเดี่ยวออกเรียงสลับกันหนาแน่น ช่วงปลายยอดใบหนาแข็งรูปรีหรือรูปไข่กลับปลายใบมนทู่ ส่วนโคนใบแหมหรือสอบสีเขียวสด ขนาดของใบกว้างประมาณ 6-10 ซม. ยาวประมาณ 8-20 ซม.เนื้อใบหนามีกลิ่นหอม ลักษณะของใบคล้ายกับใบลั่นทม
    ดอก ดอกออกเป็นช่อกระจาย ช่อหนึ่งยาว 12-20 ซม. ดอกสีขาวหรือสีเหลืองนวล แล้วเปลี่ยนเป็นสีชมพูแต่ละช่อประกอบด้วยดอกย่อยจำนวนมาก มีกลีบเลี้ยงขนาดเล็กสีเขียว ดอกโคนเชื่อมติดกันดอกหนึ่งมีปลายแยกเป็นกลีบดอก 5 กลีบ ตรงกลางดอกก็จะมีเกสรตัวผู้อยู่ 8-10 อัน หลังดอกร่วงจะติดผล
    ผล ผลคล้ายชมพู่ ฉ่ำน้ำเป็นพวงห้อยย้อยลง ขนาดผลยาว 5-8 ซม. เนื้อผลนิ่มมีกลิ่นหอม ผลอ่อนสีเขียวหรือสีเหลืองอมชมพู เมื่อแก่หรือสุกเปลี่ยนเป็นสีแดงสด ส่วนปลายสุดของผลมีเมล็ดอยู่ 1 เมล็ด เป็นรูปไตเปลือกนอกแข็งยาวประมาณ 2-4 ซม. มีสีน้ำตาลอมเท

    9. ส่วนที่ใช้บริโภค ยอดอ่อน ใบอ่อน เมล็ดแก่
    10. การขยายพันธุ์ เมล็ด ตอนกิ่ง
    11. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ปลูกง่ายในที่กลางแจ้งทนต่อแสงแดดได้ดี ขึ้นได้ในดินทุกชนิด
    12. ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ยอด ใบอ่อน ฤดูฝน
    13. คุณค่าทางอาหาร ยอดอ่อน ใบอ่อน 100 กรัม


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 border=1><TBODY><TR><TH></TH><TH>Cal </TH><TH>Moist ure </TH><TH>Protein </TH><TH>Fat </TH><TH>CHO </TH><TH>Fibre </TH><TH>Ash . </TH><TH>Ca </TH><TH>P </TH><TH>Fe </TH><TH>A.I.U </TH><TH>B1 </TH><TH>B2 </TH><TH>Niacin </TH><TH>C </TH></TR><TR><TD></TD><TD>Unit </TD><TD>% </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD></TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD></TR><TR><TD>ใบอ่อน </TD><TD>100 </TD><TD>69.9 </TD><TD>5.2 </TD><TD>0.6 </TD><TD>23.1 </TD><TD>- </TD><TD>- </TD><TD>- </TD><TD>- </TD><TD>- </TD><TD>1025 </TD><TD>0.01 </TD><TD>0.01 </TD><TD>1.4 </TD><TD>89 </TD></TR><TR><TD>เมล็ด(อบ) </TD><TD>548 </TD><TD>2.4 </TD><TD>24.9 </TD><TD>46.8 </TD><TD>6.7 </TD><TD>16.6 </TD><TD>2.6 </TD><TD>17 </TD><TD>453 </TD><TD>Tr. </TD><TD>- </TD><TD>0.86 </TD><TD>0.19 </TD><TD>1.1 </TD><TD>1 </TD></TR></TBODY></TABLE>
    14. การปรุงอาหาร ยอดอ่อน ใบอ่อน ใช้รับประทานเป็นผักสดร่วมกับน้ำพริก แกงเผ็ด ขนมจีนน้ำยา ลาบ ก้อย
    15. ลักษณะพิเศษ ยอด ใบ มีรสฝาด สรรพคุณ สมานลำไส้ บรรเทาอาการท้องร่วง
    16. ข้อควรระวัง ยางจากผลมีพิษ ควรใช้อย่างระมัดระวัง
    17. เอกสารอ้างอิง กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2535. คุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. 97 หน้า.
    กองโภชนาการ กรมอนามัย. 2530. ตารางแสดงคุณค่าอาหารไทยในส่วนที่กินได้ 100 กรัม. 48 หน้า.
    วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. 2531. พจนานุกรมสมุนไพรไทย. 880 หน้า.
    เต็ม สมิตินันทน์. 2523. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย(ชื่อพฤกษศาสตร์-ชื่อพื้นเมือง). กรมป่าไม้ 379 หน้า.
    สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2542. ผักพื้นบ้านภาคใต้ 279 หน้า.
    สำนักงานคณะกรรมการการสาธารณสุขมูลฐาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สถาบันการแพทย์แผนไทย
    กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2538. ผักพื้นบ้าน : ความหมายและภูมิปัญญาของสามัญชนไทย 261 หน้า
    ที่มา http://singburi.doae.go.th/acri/index.htm
    กลับไปหัวข้อ ไม้ยืนต้น
    กลับไป ผัก
    กลับหน้าแรก
    <!-- Saved in parser cache with key palungji_wikidb:pcache:idhash:1834-0!1!0!!th!2 and timestamp 20070908140427 -->รับข้อมูลจาก "http://palungjitrescuedisaster.com/wiki/index.php/มะม่วงหิมพานต์"
    <!-- end content -->
     
  9. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    ขนุน

    จาก PalungjitRescueDisaster


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->[​IMG]
    1. ชื่อ ขนุน
    2. ชื่ออื่น ขะหนุน หมักมี้ ขะนู นากอ โนน บักมี่ ขนุร ขะเนอ เนน ซีคึย ปะหน่อย นะยวยซะ มะหนุน ล้าง หมาด ยะนู หมากกลาง
    3. ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus heterophyllus Lamk.
    4. วงศ์ MORACEAE
    5. ชื่อสามัญ Jack Fruit Tree
    6. แหล่งที่พบ พบทั่วไปของทุกภาค
    7. ประเภทไม้ ไม้ยืนต้น

    8. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
    [​IMG]
    <DL><DD>ต้น ไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสูงประมาณ 8-15 เมตร มียางขาวทั้งต้นไม้เนื้ออ่อนแก่นสีเหลือง </DD></DL><DL><DD>ใบ ใบรูปร่างกลมรี เหนียวและหนา ปลายใบแหลมยาว 7-15 ซม. ก้านใบยาว 1-2.5 ซม. ใบด้านบนสีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน ส่วนผิวใบด้านล่างสาก </DD></DL><DL><DD>ดอก เป็นช่อออกเป็นกลุ่มช่อดอกตัวเมียและตัวผู้อยู่บนต้นเดียวกัน ช่อดอกตัวผู้ออกที่โคลนกิ่ง/ลำต้น/ง่ามใบ ลักษณะของดอกเป็นแท่ง ยาวประมาณ 2.5 ซม. ช่อดอกตัวเมียเป็นแท่งกลมออกจากลำต้น ก้านขนาดใหญ่ ดอกตัวผู้มีกลิ่นหอมคล้ายส่าเหล้า </DD></DL><DL><DD>ผล เป็นผลรวมผลกลมและยาวขนาดใหญ่ หนัก 10-60 กิโลกรัม ในหนึ่งผลใหญ่จะมีผลย่อยหลายผล (เรียกยวง) เมล็ดกลมรีเนื้อหุ้มเมล็ดสีเหลือง ถ้าสุกมีกลิ่นหอมเปลือกหุ้มเมล็ดบางรับประทานได้ </DD></DL>9. ส่วนที่ใช้บริโภค ยอดอ่อน ใบอ่อน ผลอ่อน ดอกตัวผู้อ่อน ซัง
    10. การขยายพันธุ์ เมล็ด ตอนกิ่ง ทาบกิ่ง ต่อกิ่ง
    11. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ปลูกได้ทั่วไปในดินที่มีการระบายน้ำดี
    12. ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ บางต้นตลอดปี ออกมากประมาณเดือนมีนาคม – มิถุนายน

    13. คุณค่าทางอาหาร คุณค่าทางอาหารในส่วนที่รับประทานได้ 100 กรัม ประกอบด้วย
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 border=1><TBODY><TR><TH></TH><TH>Cal </TH><TH>Moist ure </TH><TH>Protein </TH><TH>Fat </TH><TH>CHO </TH><TH>Fibre </TH><TH>Ash . </TH><TH>Ca </TH><TH>P </TH><TH>Fe </TH><TH>A.I.U </TH><TH>B1 </TH><TH>B2 </TH><TH>Niacin </TH><TH>C </TH></TR><TR><TD></TD><TD>Unit </TD><TD>% </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD></TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD></TR><TR><TD>ผลอ่อน </TD><TD>42 </TD><TD>88.4 </TD><TD>1.6 </TD><TD>1 </TD><TD>6.4 </TD><TD>2 </TD><TD>0.7 </TD><TD>8 </TD><TD>3 </TD><TD>0.5 </TD><TD>89 </TD><TD>0.49 </TD><TD>0.05 </TD><TD>- </TD><TD>15 </TD></TR><TR><TD>ใบอ่อน </TD><TD>75 </TD><TD>75.5 </TD><TD>5 </TD><TD>0 </TD><TD>17.5 </TD><TD>0 </TD><TD>- </TD><TD>170 </TD><TD>60 </TD><TD>17.5 </TD><TD>- </TD><TD>0.1 </TD><TD>- </TD><TD>- </TD><TD>70 </TD></TR></TBODY></TABLE>
    14. การปรุงอาหาร ดอกตัวผู้อ่อนรับประทานกับน้ำพริก ยอดอ่อนใบอ่อน รับประทานสดกับส้มตำ เมี่ยงและลวกร่วมกับน้ำพริก ยอดอ่อนและซังปรุงเป็นแกง ผลขนุนอ่อนต้มให้สุกรับประทานกับน้ำพริกปรุง เป็นซุป(ซุปขนุน) หรือแกงขนุน
    15. ลักษณะพิเศษ ยอดขนุน รสฝาดอมเปรี้ยวเล็กน้อย ผลอ่อน รสมันหวาน สรรพคุณ ฝาดสมานรักษาอาการท้องเสีย
    16. ข้อควรระวัง -
    17. เอกสารอ้างอิง
    กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2535. คุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. 97 หน้า. กองโภชนาการ กรมอนามัย. 2530. ตารางแสดงคุณค่าอาหารไทยในส่วนที่กินได้ 100 กรัม. 48 หน้า.
    <DL><DD>คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้และไม้โตเร็วอเนกประสงค์. 2540.ไม้อเนกประสงค์กินได้. 486 หน้า. </DD></DL><DL><DD>เต็ม สมิตินันทน์. 2523. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย (ชื่อพฤกษศาสตร์-ชื่อพื้นเมือง). กรมป่าไม้ 379 หน้า. </DD></DL><DL><DD>มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทยและสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวทยาลัยมหิดล. 2541.มหัศจรรย์ผัก 108.พิมพ์ครั้งที่ 4. 411 หน้า </DD></DL><DL><DD>วัชรี ประชาศรัยสรเดช. 2542. ผักพื้นเมือง เหนือ อีสาน ใต้. 81 หน้า. </DD></DL><DL><DD>สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2542. ผักพื้นบ้านภาคอีสาน 302 หน้า. </DD></DL><DL><DD>สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2542. ผักพื้นบ้านภาคใต้ 279 หน้า. </DD></DL><DL><DD>สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2542. ผักพื้นบ้านภาคกลาง 279 หน้า. </DD></DL><DL><DD>สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรสกลนคร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล กระทรวงศึกษาธิการ.ผลการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการผักพื้นบ้านอาหารธรรมชาติอีสาน ครั้งที่ 2. 177 หน้า. </DD></DL><DL><DD>สำนักงานคณะกรรมการการสาธารณสุขมูลฐาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2538. ผักพื้นบ้าน :ความหมายและภูมิปัญญาของสามัญชนไทย 261 หน้า. </DD></DL>[แก้ไข] ที่มา

    http://singburi.doae.go.th/acri/index.htm
    กลับไปหัวข้อ ไม้ยืนต้น
    กลับไป ผัก
    กลับหน้าแรก
    <!-- Saved in parser cache with key palungji_wikidb:pcache:idhash:2096-0!1!0!!th!2 and timestamp 20070908140744 -->รับข้อมูลจาก "http://palungjitrescuedisaster.com/wiki/index.php/ขนุน"
    <!-- end content -->
     
  10. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ขอบคุณครับ ขอแบบได้ทันกินไวๆด้วยครับ
     
  11. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    ถั่วมะแฮะ

    จาก PalungjitRescueDisaster


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->[​IMG] [​IMG]
    ฝักถั่วมะแฮะ


    [​IMG] [​IMG]
    ต้นถั่วมะแฮะ


    [​IMG] [​IMG]
    ดอกถั่วมะแฮะ


    1. ชื่อ ถั่วมะแฮะ
    2. ชื่ออื่น ถั่วแฮ มะแฮะ ถั่วแระ ถั่วแม่ตาย ถั่วแรด มะแฮะต้น ถั่วแฮ่
    3. ชื่อวิทยาศาสตร์ Cajanus cajan (L.) Millsp.
    4. วงศ์ LEGUMINOSAE
    5. ชื่อสามัญ Angola Pea , Congo Pea
    6. แหล่งที่พบ พบทุกภาคของประเทศไทย
    7. ประเภทไม้ ไม้พุ่ม
    8. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
    <DL><DD>ต้น ไม้พุ่มลำต้นตั้งตรง สูง 3-5 เมตร ลำต้นแก่มีสีม่วงแดงมักแตกเป็นรองสีน้ำตาล </DD></DL><DL><DD>ใบ ใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ เรียงสลับเป็นใบย่อยรูปขอบขนาน แกมใบหอก ผิวใบทั้งสองด้านมีขน กว้าง 1-3.5 ซม. ยาว 1.5-10 ซม. </DD></DL><DL><DD>ดอก ดอกช่อออกที่ซอกใบ รูปดอกถั่ว กลีบดอกสีเหลืองมีขอบสีน้ำตาลแดง </DD></DL><DL><DD>ผล ผลเป็นฝักแบนยาว เมล็ดเหมือนถั่วเหลือง </DD></DL>
    9. ส่วนที่ใช้บริโภค ฝักอ่อน
    10. การขยายพันธุ์ เมล็ด
    11. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เจริญเติบโตได้ทุกสภาพแวดล้อม
    12. ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ตลอดปี
    13. คุณค่าทางอาหาร ในส่วนที่รับประทานได้ 100 กรัม ประกอบด้วย
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 border=1><TBODY><TR><TH></TH><TH>Cal </TH><TH>Moist ure </TH><TH>Protein </TH><TH>Fat </TH><TH>CHO </TH><TH>Fibre </TH><TH>Ash . </TH><TH>Ca </TH><TH>P </TH><TH>Fe </TH><TH>A.I.U </TH><TH>B1 </TH><TH>B2 </TH><TH>Niacin </TH><TH>C </TH></TR><TR><TD></TD><TD>Unit </TD><TD>% </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD></TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD></TR><TR><TD>ฝักอ่อน </TD><TD>362 </TD><TD>11 </TD><TD>19.4 </TD><TD>5.6 </TD><TD>60.9 </TD><TD>2.5 </TD><TD>- </TD><TD>114 </TD><TD>387 </TD><TD>2.2 </TD><TD>25 </TD><TD>0.46 </TD><TD>0.2 </TD><TD>1.2 </TD><TD>Tr. </TD></TR></TBODY></TABLE>14. การปรุงอาหาร ฝักอ่อน รับประทานเป็นผักสดร่วมกับลาบ เมี่ยง น้ำพริก
    15. ลักษณะพิเศษ -
    16. ข้อควรระวัง -
    17. เอกสารอ้างอิง
    เต็ม สมิตินันทน์. 2523. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย (ชื่อพฤกษศาสตร์-ชื่อพื้นเมือง). กรมป่าไม้ 379 หน้า.
    วัชรี ประชาศรัยสรเดช. 2542. ผักพื้นเมือง เหนือ อีสาน ใต้. 81 หน้า.
    วุฒิ วุฒิธรรมเวช. สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสัชกรรมไทย. 2540. 618 หน้า.
    สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2542. ผักพื้นบ้านภาคเหนือ 280 หน้า.
    สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรสกลนคร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล กระทรวงศึกษาธิการ. ผลการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการผักพื้นบ้านอาหารธรรมชาติอีสาน ครั้งที่ 2. 177 หน้า.
    [แก้ไข] ที่มา

    http://singburi.doae.go.th/acri/index.htm
    ไม้พุ่ม
    กลับไป ผัก
    กลับหน้าแรก
     
  12. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    ผักหวานบ้าน

    จาก PalungjitRescueDisaster


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->[​IMG] [​IMG]
    ใบผักหวานบ้าน


    [​IMG] [​IMG]
    ใบผักหวานบ้าน


    1. ชื่อ ผักหวานบ้าน
    2. ชื่ออื่น ก้านตง ผักหวาน ผักหวานใต้ใบ มะยมป่า จ๊าผักหวาน โถหลุ่ยกะนีเด๊าะ
    3. ชื่อวิทยาศาสตร์ Sauropus androgynus Merr.
    4. วงศ์ EUPHORBIACEAE
    5. ชื่อสามัญ -
    6. แหล่งที่พบ พบทั่วไปของทุกภาค
    7. ประเภทไม้ ไม้พุ่ม
    8. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
    [​IMG] [​IMG]
    ใบผักหวานบ้าน


    [​IMG] [​IMG]
    ผลผักหวานบ้าน


    [​IMG] [​IMG]
    ต้นผักหวานบ้าน


    <DL><DD>ต้น เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง สูงประมาณ 2-3 เมตร กิ่งก้านค่อนข้างเล็กสีเขียวปนเทา เรียวงอไปมาเล็กน้อยตามข้อ </DD></DL><DL><DD>ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ ก้านใบสั้นประมาณ 2-4 มม. ใบรุปร่างกลมรูปขอบขนาน รูปไข่ หรือค่อนข้างเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ใบกว้าง 2-3.2 ซม. ปลายใบแหลมขอบเรียบ ออกเป็นคู่ตรงข้ามกันดูคล้ายใบประกอบ โคนใบมนมีหูใบเล็กๆ ที่โคนก้านใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน </DD></DL><DL><DD>ดอก เป็นดอกเดี่ยวออกตรงซอกใบเรียงตามก้านใบ โดยมีใบปกอยู่ด้านบนขนาดเล็กคล้ายดอกพุทรา มี 2 ชนิด ดอกสีเขียวอมเหลืองและดอกสีม่วงแดง หรือแดงเข้มถึงดอกสีน้ำตาลแดง กลุ่มละ 2-4 ดอก ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียแยกเพศกัน </DD></DL><DL><DD>ผล ทรงกลมรูปร่างคล้ายผลมะยม เรียงกันอยู่ใต้ใบผลมี 3 พู สีขาวนวลและออกสีชมพูเล็กน้อย เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.0-1.5 ซม. เมื่อแก่เต็มที่มีสีเขียวอมเหลือง ภายในผลแบ่งเป็น 6 พู ๆ ละ 1 เมล็ด </DD></DL><DL><DD>เมล็ด เป็นรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็กหรือรูปครึ่งวงกลม เปลือกเมล็ดสีน้ำตาลเข้มหนาและแข็ง </DD></DL>9. ส่วนที่ใช้บริโภค ยอดอ่อน ใบอ่อน ผลอ่อน
    10. การขยายพันธุ์ เมล็ด ปักชำกิ่ง
    11. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ชอบที่ลุ่มต่ำมีความชื้นพอเหมาะ ดินร่วนชุ่มชื้นระบายน้ำดี
    12. ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ตลอดทั้งปี (ผลอ่อน ปลายฤดูฝน)
    13. คุณค่าทางอาหาร คุณค่าทางอาหารในส่วนที่รับประทานได้ 100 กรัม ประกอบด้วย
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 border=1><TBODY><TR><TH></TH><TH>Cal </TH><TH>Moist ure </TH><TH>Protein </TH><TH>Fat </TH><TH>CHO </TH><TH>Fibre </TH><TH>Ash . </TH><TH>Ca </TH><TH>P </TH><TH>Fe </TH><TH>A.I.U </TH><TH>B1 </TH><TH>B2 </TH><TH>Niacin </TH><TH>C </TH></TR><TR><TD></TD><TD>Unit </TD><TD>% </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm. </TD><TD>Gm </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD></TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD><TD>mg. </TD></TR><TR><TD>ผักหวานข้าน </TD><TD>39 </TD><TD>87.1 </TD><TD>0.1 </TD><TD>0.6 </TD><TD>8.3 </TD><TD>2.1 </TD><TD>1.8 </TD><TD>24 </TD><TD>68 </TD><TD>1.3 </TD><TD>8500 </TD><TD>0.12 </TD><TD>1.65 </TD><TD>3.6 </TD><TD>32 </TD></TR></TBODY></TABLE>
    14. การปรุงอาหาร ยอดอ่อน ใบอ่อน นำมาลวก ต้ม นึ่ง รับประทานกับน้ำพริก ปลานึ่ง ลาบ นำมาปรุงอาหาร เช่น ผัด แกงเลียง แกงอ่อม
    15. ลักษณะพิเศษ ผักหวานบ้าน รสหวานเย็น ช่วยบรรเทาความร้อนในร่างกาย
    16. ข้อควรระวัง -
    17. เอกสารอ้างอิง
    กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2535. คุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. 97 หน้า.
    กองโภชนาการ กรมมอนามัย. 2530. ตารางแสดงคุณค่าอาหารไทยในส่วนที่กินได้ 100 กรัม. 48 หน้า.
    คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้และไม้โตเร็วอเนกประสงค์. 2540. ไม้เอนกประสงค์กินได้. 486 หน้า.
    เต็ม สมิตินันทน์. 2523. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย (ชื่อพฤกษศาสตร์-ชื่อพื้นเมือง). กรมป่าไม้ 379 หน้า.
    ยิ่งยง ไพสุขศานติวัฒนา. 2539. ผักไทย-ยาไทย คู่มือการปรุงอาหารจากผักพื้นบ้านไทย. 77 หน้า.
    วัชรี ประชาศรัยสรเดช. 2542. ผักพื้นเมือง เหนือ อีสาน ใต้. 81 หน้า.
    สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2542. ผักพื้นบ้านภาคกลาง 279 หน้า.
    สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2542. ผักพื้นบ้านภาคใต้ 279 หน้า.
    สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2542. ผักพื้นบ้านภาคอีสาน 302 หน้า.
    สำนักงานคณะกรรมการการสาธารณสุขมูลฐาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2538. ผักพื้นบ้าน : ความหมายและภูมิปัญญาของสามัญชนไทย 261 หน้า.
    [แก้ไข] ที่มา

    http://singburi.doae.go.th/acri/index.htm
    ไม้พุ่ม
    กลับไป ผัก
    กลับหน้าแรก
     
  13. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    พญาเห็ดนี่....ข้อมูลเพียบ
     
  14. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    โห..มาเป็นชุดเลยคุณเปี๊ยก
    ช่วงนี้ฟอกแมนไปหลับอยู่ที่ไหนครับ มีใครเห็นบ้าง?
    กลับมาจากลป.มีชัย แล้วเงียบผิดสังเกต + ต้องประกาศตามหา อิอิ

    (glass)




     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 กันยายน 2007
  15. ๑กุหว่าใจ๋๑

    ๑กุหว่าใจ๋๑ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มกราคม 2006
    โพสต์:
    371
    ค่าพลัง:
    +2,730
    ถ้าจะปลูกประเภทที่โตทันกับเหตุการณ์ ก็น่าจะลงพวกพืชผักสวนครัวต่างๆครับ เช่น แตงกวา มะเขือต่างๆ บวบ บัว ถั่วพรู มันประเภทต่างๆ ผักกินใบต่างๆ เห็ดต่างๆ พืชที่ใช้เป็นส่วนผสมในการทำเครื่องแกงต่างๆ หรือใช้ปรุงรสครับ(ออปลูกตะใคร้หอมเอาไว้ใช้ไล่ยุงด้วยก็ดีครับ ยุงเยอะโคตร- -")ส่วนผลไม้นี่กล้วยกับมะละกอเลยครับ ปลูกง่ายโตใวให้ผลทันใจ ก็ต้องจัดสรรค์เนื่อที่ในการปลูกกันครับ ต้องขอความเห็นชอบจากเจ้าของสถานที่ก่อนครับผม^^

    คุณเปี๊ยกช่วยลงข้อมูลเพิ่มเติมด้วยนะครับ ผมว่าเรื่องผักๆเห็ดๆเนี่ยคุณเปี๊ยกน่าจะถนัด เพราะรับประทานมังสะวิรัตอยู่แล้ว
     
  16. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    ผักสวนครัวนั้น เป็นสิ่งจำเป็นร่วงด่วนที่ต้องปลูกครับ
    เช่นพวกที่ไม่ต้องดูแลมากมาย
    1.ขิง
    2.ข่า
    3.ตะไคร้
    4.มะนาว
    5.ฟักทอง
    6.บวบ
    7.ถั่วพู
    8.กระชาย
    9.มะเขือ
    10.พริก
    ผักสวนครัวประเภทต้องหมั่นดูแลนิดหนึ่ง
    11.สะระแหน่
    12.ผักไผ่
    13.ผักชีฝรั่ง
    14.ผักชี
    15.ผักกระแยง
    16.พริก
     
  17. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    พวกเห็ดนี่คงต้องหาผู้เชี่ยวชาญพิเศษครับ เพราะว่าต้องใช้ความชำนาญสูง
    ส่วนข้อมูล ลองเข้าไปดูในวิกีที่รวมกันไดว้ครับ ตามลิ้งhttp://www.palungjitrescuedisaster.com/wiki/index.php/ผัก
    ไม้ยืนต้น

    จาก PalungjitRescueDisaster


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content --><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 border=1><TBODY><TR><TH>กระโดนบก </TH><TH>กระท้อน </TH><TH>กระพี้จั่น </TH><TH>ก่อ </TH><TH>กะพ้อ </TH><TH>กันเกรา </TH><TH>กาแซะ </TH><TH>กาสะลองคำ </TH><TH>โกงกาง </TH><TH>ขนุน </TH></TR><TR><TH>ขรี </TH><TH>ขี้หนอน </TH><TH>ขี้เหล็ก </TH><TH>คล้ายมันปลา </TH><TH>แคทราย </TH><TH>แคบ้าน </TH><TH>แคป่า </TH><TH>แคฝรั่ง </TH><TH>แคหัวหมู </TH><TH>แคหางค่าง </TH></TR><TR><TH>แคอ่าว </TH><TH>งิ้ว </TH><TH>จวง </TH><TH>จาก </TH><TH>จำปาดะ </TH><TH>จำปูน </TH><TH>แจง </TH><TH>ฉิ่ง </TH><TH>ชมพู่มะเหมี่ยว </TH><TH>ชะมวง </TH></TR><TR><TH>ชำชะ </TH><TH>ชำมะเลียง </TH><TH>ชุมแสง </TH><TH>เดื่อหว้า </TH><TH>แดง </TH><TH>แดงคลอง </TH><TH>ตะโกนา </TH><TH>ตะลิงปลิง </TH><TH>ตาเป็ดตาไก่ </TH><TH>ตาล </TH></TR><TR><TH>เต่าร้างแดง </TH><TH>ทองหลาง </TH><TH>ทองหลางใบมน </TH><TH>ทำมัง </TH><TH>เทียม </TH><TH>ธนนไชย </TH><TH>นนทรี </TH><TH>เนียง </TH><TH>บุนนาค </TH><TH>ปันแกล </TH></TR><TR><TH>ปีบ </TH><TH>*ผักก้านตอง </TH><TH>ผักเฮือด </TH><TH>ไผ่ข้าวหลาม </TH><TH>ไผ่คายดำ </TH><TH>ไผ่โจด </TH><TH>ไผ่ซาง </TH><TH>ไผ่ซางดอย </TH><TH>ไผ่ตง </TH><TH>ไผ่ตากวาง </TH></TR><TR><TH>*ไผ่แนะ </TH><TH>ไผ่บง </TH><TH>ไผ่บงคาย </TH><TH>ไผ่บงดำ </TH><TH>ไผ่บงใหญ่ </TH><TH>ไผ่ป่า </TH><TH>ไผ่เปาะ </TH><TH>ไผ่ผาก </TH><TH>ไผ่เพ็ก </TH><TH>ไผ่รวก </TH></TR><TR><TH>ไผ่รวกดำ </TH><TH>ไผ่ไร่ </TH><TH>*ไผ่ลำมะลอก </TH><TH>*ไผ่ไล่ลอ </TH><TH>ไผ่สีสุก </TH><TH>ไผ่หก </TH><TH>ไผ่หวาน </TH><TH>ไผ่เฮียะ </TH><TH>พะยอม </TH><TH>พันตา </TH></TR><TR><TH>พิมาน </TH><TH>พิลังกาสา </TH><TH>เพกา </TH><TH>มะกลิ่งตาช้าง </TH><TH>มะดัน </TH><TH>มะกอกน้ำ </TH><TH>มะกอกป่า </TH><TH>มะขาม </TH><TH>มะขามป้อม </TH><TH>มะดะหลวง </TH></TR><TR><TH>มะดัน </TH><TH>มะเดื่อน้ำ </TH><TH>มะเดื่อปล้อง </TH><TH>มะเดื่ออุทุมพร </TH><TH>มะตูม </TH><TH>มะนาวควาย </TH><TH>มะปริง </TH><TH>มะพร้าว </TH><TH>มะพูด </TH><TH>มะเฟือง </TH></TR><TR><TH>มะไฟกา </TH><TH>มะม่วง </TH><TH>มะม่วงกะล่อน </TH><TH>มะม่วงหิมพานต์ </TH><TH>มะมุด </TH><TH>มะยม </TH><TH>มะรุม </TH><TH>มังคุด </TH><TH>เม็ก </TH><TH>เม็ดขุนตัวผู้ </TH></TR><TR><TH>เม่าไข่ปลา </TH><TH>โมกมัน </TH><TH>ยอบ้าน </TH><TH>ยอป่า </TH><TH>ระกำ </TH><TH>ลาน </TH><TH>ลำพู </TH><TH>ลำแพน </TH><TH>ลูกชิด </TH><TH>ลูกดิ่ง </TH></TR><TR><TH>ลูกประ </TH><TH>เลี่ยน </TH><TH>เลียบ </TH><TH>ส้มเขียวหวาน </TH><TH>ส้มแขก </TH><TH>ส้มซ่า </TH><TH>ส้มเม่า </TH><TH>ส้มเสี้ยวตัน </TH><TH>สมอไทย </TH><TH>ส้มโอ </TH></TR><TR><TH>สะคาม </TH><TH>สะเดา </TH><TH>สะตอ </TH><TH>สะตอป่า </TH><TH>ส้านใหญ่ </TH><TH>เสี้ยวดอกแดง </TH><TH>แสงจันทร์ </TH><TH>แสมสาร </TH><TH>สำรอง </TH><TH>หลุมพี </TH></TR><TR><TH>หว้า </TH><TH>หูกวาง </TH><TH>เหมือดคน </TH><TH>เหรียง </TH><TH>อินทนิลน้ำ </TH><TH>อุโลก </TH><TH>[​IMG] </TH><TH>[​IMG] </TH><TH>[​IMG] </TH><TH>[​IMG] </TH></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    ไม้พุ่ม

    จาก PalungjitRescueDisaster


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content --><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 border=1><TBODY><TR><TH>กระถินไทย </TH><TH>กะออก </TH><TH>ก้านตุง </TH><TH>กาหลง </TH><TH>กำจัดต้น </TH><TH>กุ่มน้ำ </TH><TH>กุ่มบก </TH><TH>กุหลาบมอญ </TH><TH>เกล็ดปลาช่อน </TH><TH>เกี๋ยงพาลาบ </TH></TR><TR><TH>โกสน </TH><TH>ขลู่ </TH><TH>เข็มข้าวสาร </TH><TH>เข็มแดง </TH><TH>เขืองแข้งม้า </TH><TH>คอนแคน </TH><TH>ค้อนหมาขาว </TH><TH>คัดเค้าเครือ </TH><TH>จิก </TH><TH>จิกง่วงนอน </TH></TR><TR><TH>จิกนา </TH><TH>เจตมูลเพลิงขาว </TH><TH>เจตมูลเพลิงแดง </TH><TH>ชะอม </TH><TH>ชา </TH><TH>ชุมเห็ดเทศ </TH><TH>ชุมเห็ดไทย </TH><TH>ดูกอึ่ง </TH><TH>ต้างหลวง </TH><TH>ตานหม่อน </TH></TR><TR><TH>ติ้วเกลี้ยง </TH><TH>*ติ้วขน </TH><TH>ติ้วขาว </TH><TH>ตีนเป็ด </TH><TH>ถั่วมะแฮะ </TH><TH>ทับทิม </TH><TH>ท้าวยายม่อม </TH><TH>นมสวรรค์ </TH><TH>น้อยหน่า </TH><TH>นางแย้มป่า </TH></TR><TR><TH>*น้ำนอง </TH><TH>ผักข้าวเม่า </TH><TH>ผักคันทรง </TH><TH>ผักดีด </TH><TH>ผักโต่น </TH><TH>ผักโต่นน้ำ </TH><TH>ผักถอบแถบเครือ </TH><TH>ผักแปม </TH><TH>ผักภูมิ </TH><TH>ผักลืมชู้ </TH></TR><TR><TH>ผักหวานบ้าน </TH><TH>ผักหวานป่า </TH><TH>*เพลี้ยงบ่าง </TH><TH>เพี๊ยะฟาน </TH><TH>แฟบ </TH><TH>มะเขือแจ้ </TH><TH>มะเขือพวง </TH><TH>มะสัง </TH><TH>มันปู </TH><TH>*มุ่น </TH></TR><TR><TH>เม็ดชุน </TH><TH>*ยอดสูน </TH><TH>ยี่หร่า </TH><TH>ระย่อมน้อย </TH><TH>*ราม </TH><TH>เร่ว </TH><TH>เลนเค็ด </TH><TH>เล็บครุฑ </TH><TH>เล็บครุฑใบฝอย </TH><TH>เล็บครุฑหลวง </TH></TR><TR><TH>เลา </TH><TH>ส้มกบ </TH><TH>ส้มจี๊ด </TH><TH>ส้มเช้า </TH><TH>ส้มป่อย </TH><TH>ส่องฟ้า </TH><TH>สะแล </TH><TH>เสม็ดขุน </TH><TH>เสลดพังพอนตัวเมีย </TH><TH>โสน </TH></TR><TR><TH>หม่อน </TH><TH>หมากดูกแฮ้ง </TH><TH>หมุรยมัน </TH><TH>หมุรยหอม </TH><TH>เหมียง </TH><TH>[​IMG] </TH><TH>[​IMG] </TH><TH>[​IMG] </TH><TH>[​IMG] </TH><TH>[​IMG] </TH></TR></TBODY></TABLE>[แก้ไข]
     
  19. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    ไม้ล้มลุก

    จาก PalungjitRescueDisaster


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content --><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 border=1><TBODY><TR><TH>กระเจี๊ยบเขียว </TH><TH>กระเจี๊ยบแดง </TH><TH>กระเจียวขาว </TH><TH>กระต่ายจามใหญ่ </TH><TH>กระเพรา </TH><TH>กล้วยนวล </TH><TH>กล้วยน้ำว้า </TH><TH>กล้วยป่า </TH><TH>กุยช่าย </TH><TH>โกศจุลัมพา </TH></TR><TR><TH>แขม </TH><TH>*ไข่เหา </TH><TH>ค้างคาวดำ </TH><TH>ชะพลู </TH><TH>ดอกดิน </TH><TH>ดาวกระจาย </TH><TH>ดาวเรือง </TH><TH>ต้างเหลือง </TH><TH>ถั่วเขียว </TH><TH>บัวบก </TH></TR><TR><TH>ใบบัวบกใหญ่ </TH><TH>ปอกระเจา </TH><TH>เปราะ </TH><TH>เปราะป่า </TH><TH>เปราะหอม </TH><TH>ผักกระโฉม </TH><TH>ผักกระสัง </TH><TH>ผักกาดกุง </TH><TH>*ผักกาดจอ </TH><TH>ผักกาดนกเขา </TH></TR><TR><TH>ผักกาดนา </TH><TH>ผักกาดน้ำ </TH><TH>*ผักกาดมูเซอ </TH><TH>ผักก้านก่อง </TH><TH>ผักขวง </TH><TH>ผักขี้หูด </TH><TH>ผักโขมสวน </TH><TH>ผักโขมหัด </TH><TH>ผักคราด </TH><TH>ผักคราม </TH></TR><TR><TH>ผักชี </TH><TH>ผักชีฝรั่ง </TH><TH>ผักชีไร่ </TH><TH>ผักชีล้อม </TH><TH>ผักชีลาว </TH><TH>*ผักตีนฮุง </TH><TH>ผักเบี้ยใหญ่ </TH><TH>ผักปลาบ </TH><TH>ผักปุมปลา </TH><TH>*ผักเผ็ดแม้ว </TH></TR><TR><TH>ผักไผ่ </TH><TH>*ผักแพรวกระต่าย </TH><TH>*ผักแพวน้ำ </TH><TH>ผักลิ้นห่าน </TH><TH>ผักสีเสียด </TH><TH>ผักเสี้ยน </TH><TH>ผักเสี้ยนผี </TH><TH>พริกขี้หนู </TH><TH>พริกชี้ฟ้า </TH><TH>มะเขือขื่น </TH></TR><TR><TH>มะเขือเทศ </TH><TH>มะเขือยาว </TH><TH>มะเขือส้ม </TH><TH>มะละกอ </TH><TH>มะแว้งต้น </TH><TH>มะอึก </TH><TH>แมงลัก </TH><TH>ยำแย้ </TH><TH>ว่านหอมแดง </TH><TH>สะระแหน่ </TH></TR><TR><TH>สับปะรด </TH><TH>แส้ </TH><TH>โสมไทย </TH><TH>หญ้าหัวยุ่ง </TH><TH>หูเสือ </TH><TH>โหระพา </TH><TH>*โหระพาน้ำ </TH><TH>[​IMG] </TH><TH>[​IMG] </TH><TH>[​IMG] </TH></TR></TBODY></TABLE>

    [แก้ไข]
     
  20. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    ที่เป็นตารางนี้เป็นลิ้งแล้วครับ ถ้าอยากดูอะไรก็คลิกที่หัวข้อนั้นได้เลย
     

แชร์หน้านี้

Loading...