Dhamma daily

ในห้อง 'แปลธรรมะเป็นภาษาอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย supatorn, 13 มีนาคม 2018.

  1. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    Buddhateaching.jpg
    Dhamma daily
    (๑๓๓) อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน ๓ (ลักษณะการสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทำให้คำสอนของพระองค์ ควรแก่การประพฤติปฏิบัติตาม และทำให้เหล่าสาวกเกิดความมั่นใจเคารพเลื่อมใสในพระองค์อย่างแท้จริง — the Three Aspects of the Buddha’s Teaching; the Buddha’s manners of teaching)

    ๑. อภิญญายธัมมเทสนา (ทรงแสดงธรรมด้วยความรู้ยิ่ง, ทรงรู้ยิ่งเห็นจริงเองแล้ว จึงทรงสอนผู้อื่น เพื่อให้รู้ยิ่งเห็นจริงตาม ในธรรมที่ควรรู้ยิ่งเห็นจริง — Having himself fully comprehended, he teaches others for the full comprehending of what should be fully comprehended; teaching with full comprehension)

    ๒. สนิทานธัมมเทสนา (ทรงแสดงธรรมมีเหตุผล, ทรงสั่งสอนชี้แจงให้เห็นเหตุผล ไม่เลื่อนลอย — He teaches the doctrine that has a causal bias; teaching in terms of or with reference to causality)

    ๓. สัปปาฏิหาริยธัมมเทสนา (ทรงแสดงธรรมให้เห็นจริงได้ผลเป็นอัศจรรย์, ทรงสั่งสอนให้มองเห็นชัดเจนสมจริงจนต้องยอมรับ และนำไปปฏิบัติได้ผลจริงเป็นอัศจรรย์ — He teaches the doctrine that is wondrous as to its convincing power and practicality; teaching in such a way as to be convincing and practical)

    ข้อ ๑ บางท่านแปลว่า ทรงแสดงธรรมเพื่อความรู้ยิ่ง

    M.II.9; A.I.276. ม.ม.๑๓/๓๓๐/๓๒๒; องฺ.ติก.๒๐/๕๖๕/๓๕๖.
    :- http://www.dhammathai.org/dhamma/group03.php?#100
     
  2. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    ถวายพรพระ (อิติปิ โส)
    ถวายพรพระ (อิติปิ โส)
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสานัง พุทโธ ภะคะวาติ (พุทธคุณ)

    สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ (อ่านว่า วิญญูฮีติ) (ธรรมคุณ)

    สุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฎฐะปุริสะ ปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโฆ อะนุตะรัง ปัญญักเขตตัง โลกัสสาติ (สังฆคุณ)
    Buddha Vandana

    Iti pi so Bhagavâ-Araham Sammâ-sambuddho.
    Vijjâ-carana sampanno Sugato Lokavidû Anuttarro
    Purisa-damma-sârathi Satthâ deva-manussânam
    Buddho Bhagavâti

    Translation - Homage to the Buddha
    Thus indeed, is that Blessed One: He is the Holy One, fully enlightened, endowed with clear vision and virtuous conduct, sublime, the Knower of the worlds, the incomparable leader of men to be tamed, the teacher of gods and men, enlightened and blessed.

    Dhamma Vandana

    Svâkkhato Bhagavatâ Dhammo Sanditthiko Akâliko Ehi-passiko Opanâyiko Paccattam
    veditabbo viññuhiti.

    Translation - Homage to the Teachings
    The Dhamma of the Blessed One is perfectly expounded; to be seen here and how; not delayed in
    time; inviting one to come and see; onward leading (to Nibbana); to be known by the wise, each for himself.

    Sangha Vandana

    Supati-panno Bhagavato sâvaka sangho, Ujupati-panno Bhagavato sâvaka sangho.
    Ñâya-patipanno Bhagavato sâvaka sangho. Sâmici-patipanno Bhagavato sâvaka sangho
    Yadidam cattâri purisa yugâni attha-purisa-puggalâ Esa Bhagavato sâvaka sangho.
    Âhu-neyyo, pâhu-neyyo, Dakkhi-neyyo,añjalikaraniyo, anuttaram puññakkhetam lokassâti

    Translation - Homage to the Disciples of the Buddha
    The Sangha of the Blessed One's disciples has entered on the good way; the Sangha of the Blessed One's disciples has entered on the straight way; the Sangha of the Blessed One's disciples has entered on the proper way, that is to say; the Four Pairs of Men, the Eight Types of Persons; the Sangha of the Blessed One's disciples is fit for gifts, fit for hospitality, fit for offerings, and fit for reverential salutation, as the incomparable field of merit for the world.
    :- http://www.buddhanet.net/pali_chant.htm
    Daily Buddhist Theravada Pali Chanting by VenVajiradhamma Thera

    Dhammalink
    Published on Mar 12, 2013
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กรกฎาคม 2018
  3. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    คาถาแผ่ส่วนกุศล (Pattidana) - Transference of Merits
    อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร
    (ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่มารดา บิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดา บิดาของข้าพเจ้ามีความสุข)
    Idang me mātāpitūnang hotu sukhitā hontu mātāpitaro
    May this merit share with my parents
    , may they be happy

    อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
    (ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้ามีความสุข)
    Idang me nātinang hotu sukhitā hontu nātayo
    May this merit share with my relatives
    , may they be happy

    อิทัง เม คุรูปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา
    (ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพ เจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้ามีความสุข)
    Idang me gurū-pajjhāyā cariyānang hotu sukhitā hontu gurū-pajjhāyā cariyā
    May this merit share with my teachers and preceptors
    , may they be happy

    อิทัง สัพพะเทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเทวา
    (ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข)
    Idang sabba devānang hotu sukhitā hontu sabbe devā
    May this merit share with all divide beings
    , may they be happy

    อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา
    (ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข)
    Idang sabba petānang hotu sukhitā hontu sabbe petā
    May this merit share with all hungry ghosts
    , may they be happy

    อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี
    (ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้ง ปวง ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข)
    Idang sabba verīnang hotu sukhitā hontu sabbe verī
    May this merit share with all enemies
    , may they be happy

    อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา
    (ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงมีความสุขทั่วหน้ากันเทอญ)
    Idang sabba sattānang hotu sukhitā hontu sabbe sattā
    May this merit share with all beings
    , may they be happy

    ………………………………………………………………………..
    :- http://chanting-book-for-buddha.blogspot.com/2013/04/pattidana-transference-of-merits.html
     
  4. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051

    กรวดน้ำย่อ (Patti Dāna) - Transference of Merits to Departed Relatives
    อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
    (ขอผลบุญกุศลนี้จงสำเร็จประโยชน์แก่ญาติทั้งหลายของข ้าพเจ้า ขอญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าจงเป็นสุขเป็นสุขเถิด)

    Idam me nātinam hotu-sukhitā hontu nātayo
    May my relatives share these merits and may they be happy
    ......................................................................................................................
     
  5. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    eightfold-path.gif
    Eightfold Path
    The Noble Eightfold Path consists of;

    1. Right view (samma-ditthi),
    2. Right resolve (samma-sankappa),
    3. Right speech (samma-vaca),
    4. Right action (samma-kammanta),
    5. Right livelihood (samma-ajiva),
    6. Right effort (samma-vayama).
    7. Right mindfulness (samma-sati),
    8. Right concentration (samma-samadhi)
    The Eightfold Path is well known in all Buddhist traditions and is the basis of the Buddhist practice. This having been said, it is not often clear as to how one should apply oneself to practicing and realizing the eightfold path as a manifest practice, constantly present in one’s daily life. This i feel is due to the fact that the eight classes of treading the path are listed, but rarely explained in the context of what consists of the practicing of each facet of the path.
    For example; Right view (samma-ditthi) – it is easy to say that one should practice having the right view, but this suggestion is useless unless it is explained to the disciple what is meant by “right view” – “wrong view” should also be explained, in order for the practitioner to be able to differentiate between the two.

    “Right View” (Samma Dhitthi) in the eightfold path, means that one is conscious and convinced of the truth of the concept of the “Four Noble Truths” – (Dhukka, Samutaya, Nirodha and Maggha).

    Right effort (samma-vayama), means to practice and maintain the 4 Sammaphadana (leaving behind past negative actions, culturing future auspicious actions, avoiding further negative actions, and maintaining the merits of previous positive actions)
    For those who wish to study the complete analysis of what consists of correctly applying the practice of the 8 fold path, i shall be publishing an article on this matter on the Dhamma blog here on the Dharmathai portal. This particular blog section of dharmathai dot com is for beginners Buddhism and therefore should not go into too much further detail on this matter here.
    :- http://www.dharmathai.com/dhamma-blog/eightfold-path/
     
  6. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฎฺฐา มโนมยา
    อ่านว่า (มะ-โน-ปุบ-พัง-คะ-มา-ทำ-มา-มะ-โน-เสด-ถา-มะ-โน-มะ-ยา)
    ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นใหญ่ มีใจเป็นประธาน สำเร็จลงแล้วด้วยใจ

    คนจะดี จะชั่ว ก็อยู่ที่ "ใจ" ตัวเดียวครับ ไม่ว่าสิ่งแวดล้อมรอบตัวจะชั่ว แต่ถ้า "ใจ" ไม่ชั่ว บุคคลนั้นย่อมเป็นคนดี

    เช่นเดียวกัน แม้สิ่งแวดล้อมรอบตัวจะดี แต่ถ้า "ใจ" ชั่ว บุคคลนั้นย่อมเป็นคนชั่ว

    " ทุกสิ่งนั้นให้ดูที่เจตนาของใจ มิใช่ผลที่ได้ออกมา "
     
  7. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    Dhammapīti sukhaṃ seti
    vippasannena cetasā.
    Ariyappavedite dhamme
    sadā ramati paṇḍito.
    Listen: http://host.pariyatti.org/dwob/dhammapada_6_79.mp3
    One who drinks deep the Dhamma
    lives happily with a tranquil mind.
    The wise one ever delights in the Dhamma
    made known by the Noble One (the Buddha).
     
  8. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    อาราธนาศีล 5 (Aradhana Tisarana PancaSila) – Request for the Three Refuges and the Five Precepts from Bhikku.
    นมัสการพระพุทธเจ้า (Buddhābhivādanā) – Homage to the Buddha
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (3 จบ)
    (ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง)
    Namo Tassa Bhagavato Arahato Sammā Sambuddhassa (repeat three times)
    Homage to the Blessed One, the Worthy One, the Perfectly Self-awakened One
    …………………………………………………………………………………………………….
    ไตรสรณคมน์ (Tisarana) - The Three Refuges usually recited prior the Five Precepts.

    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระพุทธ เป็นที่พึ่งที่ระลึก)
    Buddham saranam gacchami - I go to the Buddha for refuge.

    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระธรรม เป็นที่พึ่งที่ระลึก)
    Dhammam saranam gacchami - I go to the Dhamma for refuge.

    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งที่ระลึก)
    Sangham saranam gacchami - I go to the Sangha for refuge.

    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระพุทธ เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นครั้งที่สอง)
    Dutiyampi Buddham saranam gacchami - For a second time, I go to the Buddha for refuge.

    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระธรรม เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นครั้งที่สอง)
    Dutiyampi Dhammam saranam gacchami - For a second time, I go to the Dhamma for refuge.

    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นครั้งที่สอง)
    Dutiyampi Sangham saranam gacchami - For a second time, I go to the Sangha for refuge.

    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระพุทธ เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นครั้งที่สาม)
    Tatiyampi Buddham saranam gacchami - For a third time, I go to the Buddha for refuge.

    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระธรรม เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นครั้งที่สาม)
    Tatiyampi Dhammam saranam gacchami - For a third time, I go to the Dhamma for refuge.

    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นครั้งที่สาม)
    Tatiyampi Sangham saranam gacchami - For a third time, I go to the Sangha for refuge
    …………………………………………………………………………………………………..
    ศีล 5 (panca-sila) - The Five Precepts
    1. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ - (เว้นจากทำลายชีวิต)
    Panatipata veramani sikkhapadam samadiyami
    I undertake the precept to refrain from destroying living beings, prohibits killing, hurting and torturing.
    2. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ - (เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้)
    Adinnadana veramani sikkhapadam samadiyami
    I undertake the precept to refrain from taking that which is not given, stealing, actions supporting stealing.
    3. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ - (เว้นจากประพฤติผิดในกาม)
    Kamesu micchacara veramani sikkhapadam samadiyami
    I undertake the precept to refrain from sexual misconduct, infidelity in marriage life.
    4. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ - (เว้นจากพูดเท็จ)
    Musavada veramani sikkhapadam samadiyami
    I undertake the precept to refrain from false speech, lies.
    5. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ - (เว้นจากของเมา คือ สุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท)
    Suramerayamajja pamadatthana veramani sikkhapadam samadiyami
    I undertake the precept to refrain from intoxicating drinks and drugs which lead to carelessness.
    ……………………………………………………………………………..
    อาราธนาศีล 5 (Aradhana Tisarana PancaSila) – Request for the Three Refuges and the Five Precepts from Bhikku.
    (Individual request: change Mayam to Aham, and Yaacaama to Yaacaami)
    มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
    (ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอศีล ๕ ข้อ เพื่อจะรักษาไว้ทีละข้อ พร้อมทั้งพระรัตนตรัย)

    Mayam (Aham) bhante, ti-saranena saha panca sīlāni yācāma (yācāmi).

    Venerable Sir, we (I) request the Three Refuges and the Five Precepts.
    May we (I), Venerable Sir, observe the Five Precepts together with the Three Refuges.

    ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
    (แม้ครั้งที่สอง ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอศีล ๕ ข้อ เพื่อจะรักษาไว้ทีละข้อ พร้อมทั้งพระรัตนตรัย)
    Dutiyampi mayam bhante, ti-saranena saha panca sīlāni yācāma
    Venerable Sir, for the second time, we request the Three Refuges and the Five Precepts
    For the second time, May we, O Venerable Sir, observe the Five Precepts together with the Three Refuges.

    ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
    (แม้ครั้งที่สาม ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอศีล ๕ ข้อ เพื่อจะรักษาไว้ที่ละข้อๆ พร้อมทั้งพระรัตนตรัย)

    Tatiyampi mayam bhante, ti-saranena saha panca sīlāni yācāma
    Venerable Sir, for the third time, we request the Three Refuges and the Five Precepts
    For the third time, May we, O Venerable Sir, observe the Five Precepts together with the Three Refuges.
    Repeat after Bhikku 3 times:
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (3 จบ)
    (ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง)
    Namo Tassa Bhagavato Arahato Sammā Sambuddhassa (repeat three times)
    Homage to the Blessed One, the Worthy One, the Rightly Self-Awakened One

    Repeat after Bhikku:

    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระพุทธ เป็นที่พึ่งที่ระลึก)
    Buddham saranam gacchami - I go to the Buddha for refuge.

    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระธรรม เป็นที่พึ่งที่ระลึก)
    Dhammam saranam gacchami - I go to the Dhamma for refuge.

    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งที่ระลึก)
    Sangham saranam gacchami - I go to the Sangha for refuge.

    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระพุทธ เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นครั้งที่สอง)
    Dutiyampi Buddham saranam gacchami - For a second time, I go to the Buddha for refuge.

    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระธรรม เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นครั้งที่สอง)
    Dutiyampi Dhammam saranam gacchami - For a second time, I go to the Dhamma for refuge.

    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นครั้งที่สอง)
    Dutiyampi Sangham saranam gacchami - For a second time, I go to the Sangha for refuge.

    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระพุทธ เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นครั้งที่สาม)
    Tatiyampi Buddham saranam gacchami - For a third time, I go to the Buddha for refuge.

    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระธรรม เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นครั้งที่สาม)
    Tatiyampi Dhammam saranam gacchami - For a third time, I go to the Dhamma for refuge.

    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ - (ข้าพเจ้าขอถือเอา พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นครั้งที่สาม)
    Tatiyampi Sangham saranam gacchami - For a third time, I go to the Sangha for refuge

    Bhikku:
    ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง
    Ti-sarana-gamanam nitthitam. - This ends the going for refuge.

    All:

    อามะ ภันเต
    Āma bhante. - Yes, Venerable Sir.
    ……………………………………………………………………………………………………………

    คำสมาทานศีล 5 – Acceptance of the Five Precepts, repeat each precept after Bhikku:

    1. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

    (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท คือเจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการฆ่า การเบียดเบียน การทำร้ายร่างกายคนและสัตว์
    แล้วมีจิตใจประกอบด้วยเมตตากรุณา มีความปรารถนาดี และสงสารเห็นอกเห็นใจผู้อื่นสัตว์อื่น)

    Pānātipātā veramanī sikkhā-padam samādiyāmi
    I undertake the training rule to refrain from taking life.

    2. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

    (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท คือเจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้ าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมยหรือโจร อันได้แก่ ลัก ฉก ชิง วิ่งราว ขู่กรรโชก ขู่เข็ญ ปล้น จี้ ตู่ ฉ้อโกง หลอก ลวง ปลอม ตระบัด เบียดบัง สับเปลี่ยน ลักลอบ ยักยอก และรับสินบน
    แล้วเป็นผู้มีความขยันประกอบสัมมาชีพ บริจาคทาน และเคารพในกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของผู้อื่น)

    Adinnādānā veramanī sikkhā-padam samādiyāmi

    I undertake the training rule to refrain from stealing.
    3. กาเมสุ มิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    (ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้น เว้นจากการประพฤติผิดในกาม)

    Kāmesu micchācārā veramanī sikkhā-padam samādiyāmi
    I undertake the training rule to refrain from sexual misconduct.
    4. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    (ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากมุสาวาท เว้นจากการพูดเท็จ คำไม่เป็นจริง และคำล่อลวง อำพรางผู้อื่น)

    Musāvādā veramanī sikkhā-padam samādiyāmi
    I undertake the training rule to refrain from telling lies.
    5. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

    (ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท คือเจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการดื่มน้ำเมาอันเป็นที ่ตั้งแห่งความประมาท อันได้แก่ น้ำสุรา เมรัย เครื่องดื่มมึนเมาอื่น ๆ และการเสพยาเสพติดอื่นๆ เช่น ฝิ่น เฮโรอีน กัญชา ยาบ้า ฯลฯ)

    Surā-meraya-majja-pamādatthānā veramanī sikkhā-padam samādiyāmi
    I undertake the training rule to refrain from intoxicating liquors and drugs that lead to carelessness.
    Bhikku:
    อิมานิ ปัญจะสิกขาปะทานิ
    Imāni panca sikkhā-padāni: - These are the five training rules.

    สีเลนะ สุคะติง ยันติ – (ศีล นั้นจักเป็นเหตุให้ถึงความสุข)
    Sīlena sugatim yanti. - Through Precepts people go for happiness.

    สีเลนะ โภคะสัมปะทา - (ศีล นั้นจักเป็นเหตุให้ได้มาซึ่ง โภคทรัพย์)
    Sīlena bhoga-sampadā. - Through Precepts people go for good fortune.

    สีเลนะ นิพพุติง ยันติ - (และศีลนั้นยัง จะเป็นเหตุให้ได้ไปถึง นิพพาน คือความดับเย็นจากกิเลศ เครื่องเศร้าหมอง ทั้งปวง)
    Sīlena nibbutim yanti. - Through Precepts people attain the extinction of passion.

    ตัสฺมา สีลัง วิโสธะเย - (ศีล จึงเป็นสิ่งที่วิเศษนักที่เธอทั้งหลายพึงยึดถือเป็นห ลัก ประจำชีวิต ประจำจิตใจ ปฏิบัติ ให้ได้ ดังนี้ แล)
    Tasmā sīlam visodhaye. - Therefore let they purify their Precepts.

    All:

    สาธุ ภันเต
    Sadhu bhante - Well said, Venerable sir

    กราบ 3 ครั้ง (prostrate 3 times)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 พฤษภาคม 2018
  9. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    คมธรรมประจำวันกับท่าน ว.วชิรเมธี ตอน หลักชาวพุทธ ๑๑ (ศาสนาแห่งความเพียร)

    Media Studio
    Published on Jan 10, 2018
     
  10. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    รักด้วยสมองและหัวใจ(Subtitle English) : คมธรรมประจำวัน โดย ท่าน ว.วชิรเมธี

    เมฆหมอกของชีวิต(Subtitle English) : คมธรรมประจำวัน โดย ท่าน ว.วชิรเมธี

    เป็นสุขในทุกวัน (Subtitle English) : คมธรรมประจำวัน โดย ท่าน ว.วชิรเมธี

    ว.วชิรเมธี v.vajiramedhi
    Published on Mar 19, 2012


     
  11. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    ผู้หญิงกับนิพพาน(Subtitle English) : คมธรรมประจำวัน โดย ท่าน ว.วชิรเมธี

    นิทานชาล้นถ้วย(Subtitle English) : คมธรรมประจำวัน โดย ท่าน ว.วชิรเมธี

    คน 4 ประเภท(Subtitle English) : คมธรรมประจำวัน โดย ท่าน ว.วชิรเมธี


    ว.วชิรเมธี v.vajiramedhi
    Published on Mar 28, 2012

     
  12. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    Famous Buddha Quotes
    “Thousands of candles can be lit from a single candle, and the life of the candle will not be shortened. Happiness never decreases by being shared.”
    “There are only two mistakes one can make along the road to truth; not going all the way, and not starting.”
     
  13. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    BuddhaandPanjavackey.jpg
    ธัมมจักรกัปปวัตนสูตร - Dhammachakkapavattana Sutta, or Dhammachakka (ธรรมจักร)
    Dhammachakka in Pali verses and translation

    เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเนมิคะทาเย
    Evam-me sutam, Ekam samayam Bhagavā, Bārānasiyam viharati isipatane migadāye
    ข้าพเจ้าได้ฟังมาแล้วอย่างนี้ สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับอยู่ที่ป่าอิ สิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี
    I heard that one time the Buddha was staying at Isipatana, near Varanasi

    ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ
    Tatra kho Bhagavā panca-vaggiye bhikkhū āmantesi:
    ในกาลนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเตือนพระภิกษุปัญจวัคคีย์ ให้ตั้งใจฟังและพิจารณาตามพระดำรัสของพระองค์อย่างนี ้ว่า
    At that time, the Blessed One expounded the supreme knowledge he had realized to the group of five ascetics:


    The two extreme practices

    เทวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรพชิตไม่ควรปฏิบัติให้หนักไปในส่วนที่สุด 2 อย่าง คือ)
    Dveme bhikkhave antā pabbajitena na sevitabbā
    The two extremes that one has gone forth from worldly life (they are monk, recluse, ascetic, etc.) should not practice,

    โย จายัง กาเมสุ กามะ สุขัลลิกานุโยโค (คือ การประพฤติปฏิบัติตนเพื่อแสวงหาความสุขอยู่ใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่น่าปรารถนา)
    Yo cāyam kāmesu kāma-sukhallikānuyogo, - 1. Attachment to worldly sense pleasures,

    หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต (เป็นธรรมอันเลว เป็นข้อประพฤติของชาวบ้าน เป็นของผู้มีกิเลสหนา ไม่ใช่ธรรมอันจะนำจิตใจออกจากกิเลส ไม่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติเพื่อให้จิตหลุดพ้นจากก ิเลส)
    Hīno gammo pothujjaniko anariyo anattha-sanhito - Which is low, household life, vulgar, unworthy, useless


    โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค (คือ การประพฤติปฏิบัติด้วยการทรมานร่างกายให้ได้รับความล ำบาก)
    Yo cāyam atta-kilamathānuyogo, - 2. Devotion to self-mortification

    ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต (ทำให้เป็นทุกข์ทรมาน ไม่ใช่ธรรมอันจะนำจิตใจออกจากกิเลส ไม่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติเพื่อให้จิตหลุดพ้นจากก ิเลส)
    Dukkho Anariyo Anattha-sanhito – Painful, unworthy, useless


    The Middle Path (ทางสายกลาง)

    เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดสองอย่างนั้น)
    Ete te bhikkhave ubho ante anupagamma, Majjhimā patipadā – the Middle Path, the practice to avoid these 2 extremes:

    ตะถาคะเตนะ อภิสัมพุทธา (อันตถาคต ได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง)
    Tathāgatena abhisambuddhā, - This knowledge is realized through penetrative insight by the Tathagata,

    จักขุกะระณี ญาณะกะระณี (กระทำดวงตา คือ กระทำญาณเครื่องรู้)
    Cakkhu-karannī nāna-karanī – Produces vision and knowledge,

    อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ (ย่อมเป็นไป เพื่อความเข้าไปสงบระงับ, เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี เพื่อกิเลสดับไปจากจิต เข้าสู่พระนิพพาน ฯ)
    Upasamāya abhinnāya sambodhāya nibbānāya samvattati. – Leads to tranquility, to insight, to the extinction of defilements, to enlightenment, to Nibbana.


    กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อปฏิบัติซึ่งเป็นกลางนั้น เหล่าไหน)
    Katamā ca sā bhikkhave majjhimā patipadā – What is the Middle Path,

    ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา (ที่ตถาคต ได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง)
    Tathāgatena abhisambuddhā, - realized by the Tathagata,

    จักขุกะระณี ญาณะกะระณี (กระทำดวงตา คือกระทำญาณเครื่องรู้)
    Cakkhu-karani nāna-karanī - produces vision and knowledge,

    อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ (ย่อมเป็นไป เพื่อความเข้าไปสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี เพื่อกิเลสดับไปจากจิต เข้าสู่พระนิพพาน ฯ)
    Upasamāya abhinnāya sambodhāya nibbānāya samvattati. - leads to tranquility, to insight, to the extinction of defilements, to enlightenment, to Nibbana.


    The Noble Eightfold Path (มรรค 8)

    อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค (ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลางนี้ เพื่อนำกิเลสให้หมดไปจากใจ มี 8 อย่าง)
    Ayameva ariyo atthangiko maggo, - the middle way to cease all defilements is the Noble Eightfold Path,

    เสยยะถีทัง (ข้อปฏิบัติเหล่านี้คือ)
    Seyyathīdam, - Namely
    1. สัมมาทิฏฐิ (ปัญญาอันเห็นชอบ คือ เห็นอริยสัจ) – ปัญญา
    Sammā-ditthi - Right view - panna
    2. สัมมาสังกัปโป (ความดำริชอบ คิดจะออกจากกาม ไม่คิดอาฆาตพยาบาท ไม่คิดเบียดเบียน) - ปัญญา
    Sammā-sankappo, - Right opinion - panna
    3. สัมมาวาจา (วาจาชอบ วจีสุจริต 4: ไม่พูดโกหก ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดคำส่อเสียด ไม่พูดเพ้อเจ้อเหลวไหล) - ศีล
    Sammā-vācā - Right speech - sila
    4. สัมมากัมมันโต (การงานชอบ เว้นจากการทุจริต ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม) - ศีล
    Sammā-kammanto - Right action - sila
    5. สัมมาอาชีโว (ความเลี้ยงชีวิตชอบ หากินโดยไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิดศีล ไม่ผิดธรรม ไม่ผิดประเพณี) - ศีล
    Sammā-ājīvo, - Right livelihood - sila
    6. สัมมาวายาโม (ความเพียรชอบ เพียรละชั่ว ประพฤติดีเพื่อให้มีคุณธรรมประจำใจ และเพื่อให้ได้คุณธรรมสูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป) - สมาธิ
    Sammā-vāyāmo - Right effort - Samadhi
    7. สัมมาสะติ (ความระลึกชอบ ระลึกนึกถึง อนุสสติ 10 ประการ มีพระนิพพานเป็นที่สุด) - สมาธิ
    Sammā-sati - Right mindfulness - Samadhi
    8. สัมมาสะมาธิ (ความตั้งจิตชอบ การทำสมาธิให้อารมณ์ตั้งมั่นใน ศีล สมาธิ ปัญญา) - สมาธิ
    Sammā-samādhi. - Right concentration - Samadhi


    อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้แลข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง)
    Ayam kho sā bhikkhave majjhimā patipadā – This is the Middle Path,

    ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา (ที่ตถาคต ได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง)
    Tathāgatena abhisambuddhā, - realized by the Tathagata

    จักขุกะระณี ญาณะกะระณี (กระทำดวงตา คือกระทำญาณเครื่องรู้)
    Cakkhu-karanī nāna-karanī - produces vision and knowledge

    อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ (ย่อมเป็นไป เพื่อความเข้าไปสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดี เพื่อกิเลสดับไปจากจิต เข้าสู่พระนิพพาน ฯ)
    Upasamāya abhinnāya sambodhāya nibbānāya samvattati. - leads to tranquility, to insight, to the extinction of defilements, to enlightenment, to Nibbana


    Dukkha (Suffering – ทุกข์)

    อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อนี้แลของจริงแห่งอริยบุคคล คือ ทุกข์)
    Idam kho pana bhikkhave dukkham ariya-saccam, - the Noble Truth of Suffering - Dukkha
    ชาติปิ ทุกขา (แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์)
    Jātipi dukkhā - Birth is suffering
    ชราปิ ทุกขา (แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์)
    Jarāpi dukkhā - Aging is suffering
    มะระณัมปิ ทุกขัง (แม้ความตายก็เป็นทุกข์)
    Maranampi dukkham - Death is suffering
    โสกะ ปะริเทวะ ทุกขะ โทมะนัส สุปายาสาปิ ทุกขา (ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจก็เป็นทุกข์)
    Soka-parideva-dukkha-domanas supāyāsāpi dukkhā, - Sorrow, lamentation, physical/mental discomfort, pain, grief, distress, despair, and resentment are suffering
    อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข (การประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจก็เป็นทุกข์)
    Appiyehi sampayogo dukkho – Association with those are unpleasant is suffering
    ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข (ความพลัดพรากจากสิ่งที่เป็นที่รักที่พอใจก็เป็นทุกข ์)
    Piyehi vippayogo dukkho – Separation from those are pleasant is suffering
    ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง (มีความปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้นนั้นก็เป็นทุกข์)
    Yampiccham na labhati tampi dukkham, - Desire to get, to attain something but not getting it, not attaining it is suffering
    สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา (ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้งห้า – การหลงคิดว่าร่างกายเป็นของเราของเขา เป็นตัวทุกข์)
    Sankhittena pancupādānakkhandhā dukkhā. – In brief, the Five Aggregates* (rupa and nama) of clinging (attachment) is suffering.

    *Five Aggregates (khandha – ขันธ์ทั้งห้า or เบญจขันธ์): five conditioned elements of existence forming a being or entity. Nama – mind phenomena.
    1. Material form, appearance (รูป - rupa),
    2. (Pleasant/ unpleasant) feeling, sensation (เวทนา - vedana),
    3. Perception, recognition or remembrance (สัญญา - sanna),
    4. Mental formation, conditioning (สังขาร - sankhara),
    5. Consciousness (วิญญาณ - vinnana)


    Dukkha-Samudaya (origin of suffering - ทุกขสมุทัย)

    อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะ สัจจัง จายัง ตัณหา (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุทำให้เกิดความทุกข์ (สมุหทัย) คือ ทะยานอยาก ความอยากไม่มีที่สิ้นสุดนี้ เรียกว่า ตัณหา)
    Idam kho pana bhikkhave dukkha-samudayo ariya-saccam,Yāyam tanhā – the Noble Truth of Origin of Suffering - Tanha (craving)
    โปโนพภะวิกา (ทำให้ต้องเวียนว่ายตายเกิด)
    Ponobbhavikā – Produces new round of becoming, rebirth, new existence
    นันทิ ราคะ สะหะคะตา (เป็นไปกับความกำหนัด ด้วยความเพลิดเพลิน)
    Nandi-rāga-sahagatā, – Bounded with pleasures, passion
    ตัตระ ตัตราภินันทินี (เพลิดเพลินอย่างหลงระเริงในสิ่งที่ก่อให้เกิดความกำ หนัดรักใคร่นั้นๆ)
    Tatra tatrābhinandinī, - Delight and indulge in every sensual objects, every existences: here, there, everywhere, - clinging, attachment
    เสยยะถีทัง (ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ)
    Seyyathīdam, - Namely
    1. กามะตัณหา (ความทะยานอยากในสิ่งที่ก่อให้เกิดความใคร่)
    Kāma-tanhā – Craving for sensual pleasures*
    2. ภวตันหา (ความทะยานอยากในความอยากเป็นนั่นอยากเป็นนี่)
    Vhava-tanhā – Craving for existence
    3. วิภวตัณหา (ความทะยานอยากที่จะพ้นจากภาวะที่ไม่อยากเป็น อยากดับสูญ)
    Vibhava-tanhā, - Craving for non-existence or self-annihilation (because of wrong views)

    *phassa – ผัสสะ (sensorial impressions from contacting): sight (eyes), sound (ears), smell (nose), taste (tongue), touch (body), and think (mind).


    Dukkha-Nirodha (cessation of suffering – ทุกขนิโรธ)

    อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อริยะสัจจัง (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นิโรธ คือ ความดับทุกข์อย่างแท้จริง)
    Idam kho pana bhikkhave dukkha-nirodho ariya-saccam, - the Noble Truth of Cessation of Suffering

    โย ตัสสา เยวะ ตัณหายะ อะเสสะ วิราคะ นิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ
    Yo tassā yeva tanhāya asesa-virāga-nirodho cāgo patinissaggo mutti anālayo

    การดับตัณหาความอยากให้หมดไปจากใจด้วยการ ละ วาง ปล่อย และไม่คิดยินดีพัวพันอยู่กับตัณหาความอยากนั้นอีกเด็ ดขาด คือ การดับทุกข์ให้หมดไปจากใจได้อย่างแท้จริง
    The complete cessation of craving is giving up, relinquishing, liberating, and detaching from craving.


    Dukkha-Nirodha-Gamini-Patipada (the Path, Magga – มรรค)

    อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะ นิโรธะ คามินี ปะฏิปะทา อะริยะ สัจจัง (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทุกขโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์อย่างแท้จริง คือ อริยมรรคมีองค์ 8)
    Idam kho pana bhikkhave dukkha-nirodha-gāminī-patipadā ariya-saccam, - the Noble Truth of the Path leading to the Cessation of Suffering - Magga

    อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค (ข้อปฏิบัติอันเป็นทางสายกลาง เพื่อนำกิเลสให้หมดไปจากใจ มี 8 อย่าง)
    Ayameva ariyo atthangiko maggo, - the middle way to cease all defilements is the Noble Eightfold Path,
    เสยยะถีทัง (ข้อปฏิบัติเหล่านี้คือ)
    Seyyathīdam, - Namely
    1. สัมมาทิฏฐิ (ปัญญาอันเห็นชอบ คือ เห็นอริยสัจ) – ปัญญา
    Sammā-ditthi - Right view - panna
    2. สัมมาสังกัปโป (ความดำริชอบ คิดจะออกจากกาม ไม่คิดอาฆาตพยาบาท ไม่คิดเบียดเบียน) - ปัญญา
    Sammā-sankappo, - Right opinion - panna
    3. สัมมาวาจา (วาจาชอบ วจีสุจริต 4: ไม่พูดโกหก ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดคำส่อเสียด ไม่พูดเพ้อเจ้อเหลวไหล) - ศีล
    Sammā-vācā - Right speech - sila
    4. สัมมากัมมันโต (การงานชอบ เว้นจากการทุจริต ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม) - ศีล
    Sammā-kammanto - Right action - sila
    5. สัมมาอาชีโว (ความเลี้ยงชีวิตชอบ หากินโดยไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิดศีล ไม่ผิดธรรม ไม่ผิดประเพณี) - ศีล
    Sammā-ājīvo, - Right livelihood - sila
    6. สัมมาวายาโม (ความเพียรชอบ เพียรละชั่ว ประพฤติดีเพื่อให้มีคุณธรรมประจำใจ และเพื่อให้ได้คุณธรรมสูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป) - สมาธิ
    Sammā-vāyāmo - Right effort - Samadhi
    7. สัมมาสะติ (ความระลึกชอบ ระลึกนึกถึง อนุสสติ 10 ประการ มีพระนิพพานเป็นที่สุด) - สมาธิ
    Sammā-sati - Right mindfulness - Samadhi
    8. สัมมาสะมาธิ (ความตั้งจิตชอบ การทำสมาธิให้อารมณ์ตั้งมั่นใน ศีล สมาธิ ปัญญา) - สมาธิ
    Sammā-samādhi. - Right concentration - Samadhi
    Dhammachakka in Pali verses and translation (continued)

    Three phases of Knowledge, twelve aspects

    1. Sacca nana – สัจจญาณ (knowledge of truth) regarding dukkha

    อิทัง ทุกขัง อะริยะ สัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
    Idam dukkham ariya-saccanti me bhikkhave, Pubbe ananussutesu dhammesu, Cakkhum udapādi nānam udapādi pannā udapādi vijjā udapādi āloko udapādi

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่เคยฟังมาก่อนว่า นี้คือ ทุกข์อริยสัจ
    Vision (eyes of Dhamma) arose, insight arose, wisdom arose, clear knowledge arose, light (knowledge discerns all phenomena, light to get rid of darkness of ignorance) arose in me regarding those unheard before, This is the Noble Truth of Suffering.


    2. Kicca nana – กิจจญาณ (knowledge of function) regarding dukkha

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะ สัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
    Tam kho panidam dukkham ariya-saccam parinneyyanti me bhikkhave, Pubbe ananussutesu dhammesu, Cakkhum udapādi nānam udapādi pannā udapādi vijjā udapādi āloko udapādi

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยฟังมาก่อน ว่า ก็ทุกข์อริยสัจนี้นั้นแล ควรกำหนดรู้
    Vision arose, insight arose, wisdom arose, clear knowledge arose, light arose in me regarding those unheard before, this Noble Truth of Suffering should be rightly and fully comprehended.


    3. Kata nana – กตญาณ (knowledge of function has been done) regarding dukkha

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะ สัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
    Tam kho panidam dukkham ariya-saccam parinnātanti me bhikkhave, Pubbe ananussutesu dhammesu, Cakkhum udapādi nānam udapādi pannā udapādi vijjā udapādi āloko udapādi.

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่ไม่เ คยฟังมาก่อน ว่า ก็ทุกข์อริยสัจนี้นั้นแล เราได้หยั่งรู้ด้วยปัญญาโดยตลอดแล้ว
    Vision arose, insight arose, wisdom arose, clear knowledge arose, light arose in me regarding those unheard before, this Noble Truth of Suffering has been rightly and fully comprehended.


    4. Sacca nana - สัจจญาณ (knowledge of truth) regarding dukkha-samudaya

    อิทัง ทุกขะ สะมุทะโย อะริยะ สัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
    Idam dukkha-samudayo ariya-saccanti me bhikkhave, Pubbe ananussutesu dhammesu, Cakkhum udapādi nānam udapādi pannā udapādi vijjā udapādi āloko udapādi.

    ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปํญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยฟังมาก่อน ว่านี้คือ ทุกข์สมุทัยอริยสัจ
    Vision arose, insight arose, wisdom arose, clear knowledge arose, light arose in me regarding those unheard before, This is the Noble Truth of Origin of Suffering.


    5. Kicca nana – กิจจญาณ (knowledge of function) regarding dukkha-samudaya

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะ สะมุทะโย อะริยะ สัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
    Tam kho panidam dukkha-samudayo ariya-saccam pahātabbanti me bhikkhave, Pubbe ananussutesu dhammesu, Cakkhum udapādi nānam udapādi pannā udapādi vijjā udapādi āloko udapādi.

    ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปํญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยฟังมาก่อน ว่านี่ทุกข์สมุทัยอริยสัจนี้แล ควรละให้ขาด
    Vision arose, insight arose, wisdom arose, clear knowledge arose, light arose in me regarding those unheard before, this Noble Truth of Origin of Suffering should be eradicated.


    6. Kata nana – กตญาณ (knowledge of function has been done) regarding dukkha-samudaya

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะ สะมุทะโย อะริยะ สัจจัง ปะหีนันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
    Tam kho panidam dukkha-samudayo ariya-saccam pahīnanti me bhikkhave, Pubbe ananussutesu dhammesu, Cakkhum udapādi nānam udapādi pannā udapādi vijjā udapādi āloko udapādi.

    ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปํญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยฟังมาก่อน ว่า นี่ ทุกข์สมุทัยอริยสัจนี้แล เราละได้แล้ว
    Vision arose, insight arose, wisdom arose, clear knowledge arose, light arose in me regarding those unheard before, this Noble Truth of Origin of Suffering has been completely eradicated.


    7. Sacca nana – สัจจญาณ (knowledge of truth) regarding dukkha-nirodha

    อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
    Idam dukkha-nirodho ariya-saccanti me bhikkhave, Pubbe ananussutesu dhammesu, Cakkhum udapādi nānam udapādi pannā udapādi vijjā udapādi āloko udapādi.

    ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปํญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยฟังมาก่อน ว่านี้คือ ทุกขนิโรจอริยสัจ
    Vision arose, insight arose, wisdom arose, clear knowledge arose, light arose in me regarding those unheard before, This is the Noble Truth of the Cessation of Suffering.


    8. Kicca nana – กิจจญาณ (knowledge of function) regarding dukkha-nirodha

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะ นิโรโธ อะริยะ สัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
    Tam kho panidam dukkha-nirodho ariya-saccam sacchikātabbanti me bhikkhave, Pubbe ananussutesu dhammesu, Cakkhum udapādi nānam udapādi pannā udapādi vijjā udapādi āloko udapādi.

    ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปํญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยฟังมาก่อน ว่า ทุกขนิโรจอริยสัจนี้นั้นแล ควรทำให้แจ้ง
    Vision arose, insight arose, wisdom arose, clear knowledge arose, light arose in me regarding those unheard before, this Noble Truth of the Cessation of Suffering should be fully realized.


    9. Kata nana – กตญาณ (knowledge of function has been done) regarding dukkha-nirodha

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะ นิโรโธ อะริยะ สัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
    Tam kho panidam dukkha-nirodho ariya-saccam sacchikatanti me bhikkhave, Pubbe ananussutesu dhammesu, Cakkhum udapādi nānam udapādi pannā udapādi vijjā udapādi āloko udapādi.

    ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปํญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยฟังมาก่อน ว่า ก็ทุกขนิโรจอริยสัจนี้นั้นแล อันเราได้ทำให้แจ้งแล้ว
    Vision arose, insight arose, wisdom arose, clear knowledge arose, light arose in me regarding those unheard before, this Noble Truth of the Cessation of Suffering has been fully realized.


    10. Sacca nana – สัจจญาณ (knowledge of truth) regarding dukkha-nirodha-gamini-patipada or magga

    อิทัง ทุกขะ นิโรธะ คามินี ปะฏิปะทา อะริยะ สัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุจักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
    Idam dukkha-nirodha-gāminī-patipadā ariya-saccanti me bhikkhave, Pubbe ananussutesu dhammesu, Cakkhum udapādi nānam udapādi pannā udapādi vijjā udapādi āloko udapādi.

    ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปํญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยฟังมาก่อน ว่า นี่ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
    Vision arose, insight arose, wisdom arose, clear knowledge arose, light arose in me regarding those unheard before, this is the Noble Truth of the Path leading to the Cessation of Suffering.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มิถุนายน 2018
  14. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    ต่อ(cont.)
    11. Kicca nana – กิจจญาณ (knowledge of function) regarding dukkha-nirodha-gamini-patipada or magga

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะ นิโรธะ คามินี ปะฏิปะทา อะริยะ สัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
    Tam kho panidam dukkha-nirodha-gāminī-patipadā ariya-saccam bhāvetabbanti me bhikkhave, Pubbe ananussutesu dhammesu, Cakkhum udapādi nānam udapādi pannā udapādi vijjā udapādi āloko udapādi.

    ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปํญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่ไม่เคยรู้มาก่อน ว่า ก็ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนั้นแล ควรให้เจริญ
    Vision arose, insight arose, wisdom arose, clear knowledge arose, light arose in me regarding those unheard before, this Noble Truth of the Path leading to the Cessation of Suffering should be developed.


    12. Kata nana – กตญาณ (knowledge of function has been done) regarding dukkha-nirodha-gamini-patipada or magga

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะ นิโรธะ คามินี ปะฏิปะทา อะริยะ สัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
    Tam kho panidam dukkha-nirodha-gāminī-patipadā ariya-saccam bhāvitanti me bhikkhave, Pubbe ananussutesu dhammesu, Cakkhum udapādi nānam udapādi pannā udapādi vijjā udapādi āloko udapādi.

    ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปํญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่า ก็ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนั้นแล อันเราเจริญแล้ว
    Vision arose, insight arose, wisdom arose, clear knowledge arose, light arose in me regarding those unheard before, this Noble Truth of the Path leading to the Cessation of Suffering has been developed.


    ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะ สัจเจสุ เอวัน ติ ปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะ ทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ

    Yāvakīvanca me bhikkhave imesu catūsu ariya-saccesu, Evan-ti-parivattam dvādasākāram yathābhūtam nāna-dassanam na suvisuddham ahosi, Neva tāvāham bhikkhave sadevake loke samārake sabrahmake, Sassamana-brāhmaniyā pajāya sadeva-manussāya, Anuttarma sammā-sambodhim abhisambuddho paccannāsim.

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปัญญาอันเห็นตามความจริง 4 อย่าง อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสนี้ โดยอาการหมุนเวียนแห่งปัญญาญาณ ครบ 3 รอบ (ญาณ 3 คือ สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ) ทั้ง 4 อย่าง รวมเป็นอาการ 12 รอบ ยังไม่หมดจดแก่ตถาคต เราไม่กล้าประกาศยืนยันว่าเราได้ตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยมใน โลก ที่มีเทวดา มาร พรหม ในเหล่าสัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์

    As my knowledge of these Four Noble Truths in 3 phases, 12 aspects altogether was not clearly and completely understood to me (Tathagata). I did not declare to the worlds with deities, mara, brahma, and all beings that I had attained the incomparable perfect self-enlightenment.


    ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะ สัจเจสุ เอวัน ติ ปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะ ทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ

    Yato ca kho me bhikkhave imesu catūsu ariya-saccesu, Evan-ti-parivattam dvādasākāram yathābhūtam nāna-dassanam suvisuddham ahosi, Athāham bhikkhave sadevake loke samārake sabrahmake, Sassamana-brāhmaniyā pajāya sadeva-manussāya, Anuttaram sammā-sambodhim abhisambuddho paccannāsim.

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อใดแล ความจริง 4 อย่าง อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสนี้ โดยอาการหมุนเวียนแห่งปัญญาญาณ ครบ 3 รอบทั้ง 4 อย่าง รวมเป็นอาการ 12 รอบ ด้วยปัญญาอันบริสุทธิ์หมดจดแล้ว ฯ ได้รู้แจ้งหมดจดแก่ตถาคต เมื่อนั้น เราจึงกล้าประกาศยืนยัน ว่าเราได้ตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ (ญาณเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ) อันยอดเยี่ยมในโลก ที่มีเทวดา มาร พรหม ในหล่าสัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์

    As my knowledge of these Four Noble Truths in 3 phases, 12 aspects altogether was thoroughly purified and understood to me (Tathagata). I did declare to the worlds with deities, mara, brahma, and all beings that I had attained the incomparable perfect self-enlightenment.


    ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ ฯ
    Nānanca pana me dassanam udapādi, Akuppā me vimutti, Ayam-antimā jāti, Natthidāni punabbhavoti

    ปัญญาอันรู้เห็นได้เกิดขึ้นแก่เราแล้ว ว่า กิเลสทั้งหลายไม่สามารถจะกำเริบขึ้นมาได้อีกแล้ว จิตของเราได้หลุดพ้นจากกิเลสโดยวิเศษแล้ว ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายของเราแล้ว บัดนี้ไม่มีภพเป็นที่เกิดสำหรับเราอีกแล้ว
    The wisdom arose in me, my supreme deliverance from all defilements is firm and indestructible, this is my last existence, there is no more renewed existence for me.


    อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ
    Idam-avoca Bhagavā, Attamanā panca-vaggiyā bhikkhū Bhagavato bhāsitam abhinandum

    ครั้นเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงความจริง 4 อย่างอันประเสริฐ อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสอย่างนี้แล้ว พระภิกษุปัจจวัคคีย์เหล่านั้น ก็มีความเพลิดเพลินยินดีในธรรมที่พระพุทธองค์ทรงตรัส แล้วนั้น
    The group of five ascetics was glad and greatly rejoiced in this profound knowledge of the Blessed One.


    อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิง ภัญญะมาเน อายัสมะโต โกณทัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ "ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ" ฯ
    Imasminca pana veyyā-karanasmim bhannamāne, Āyasmato Kondannassa virajam vītamalam dhamma-cakkhum udapādi, Yankinci samudaya-dhammam sabban-tam nirodha-dhammanti

    ก็เมื่อความจริงอันประเสริฐ 4 ประการนี้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอยู่ จักษุในธรรม อันปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ได้เกิดขึ้นแล้ว แก่พระโกณทัญญะ ว่า " สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดาแล้ว สิ่งนั้นทั้งปวง ก็ต้องดับสลายไปเป็นธรรมดา "

    After the discourse of these Noble Truths expounded by the Blessed One, dhammachakku (vision of Truth, perception of right and wrong, free from impurities/defilements) arose in Venerable Kondanna as ‘Whatever with the nature of arising has the nature of ceasing’.


    ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง
    Pavattite ca Bhagavatā dhamma-cakke, Bhummā devā saddamanussāvesum:

    ก็เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ทรงประกาศวงล้อแห่งธรรมให้เป็นไปแล้วนั่นแล เหล่าภูมเทวดา ก็ได้เปล่งเสียงสาธุการบันลือลั่นว่า
    After the Blessed One had declared this great discourse: the Wheel of Dhamma, the earthbound deities (bhumadevas) did the proclamation of approval loudly that:

    “เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ" ฯ

    "Etam-Bhagavatā Bārānasiyam isipatane migadāye anuttaram dhamma-cakkam pavattitam, Appativattiyam samanena vā brāhmanena vā devena vā mārena vā brahmunā vā kenaci vā lokasminti."

    "นั่นคือ วงล้อแห่งธรรมอันยอดเยี่ยม ไม่มีอะไรเทียบได้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี ซึ่งวงล้อแห่งธรรมอย่างนี้ อันสมณพราหมณ์ ตลอดถึงเทวดา มาร พรหม และใคร ๆ ในโลก จะเปลี่ยนแปลงคัดค้านไม่ได้"

    This is the supreme Wheel of Dhamma that has been set in motion by the Blessed One at Isipatana, near Veranasi, and cannot be set or reversed by deva, mara, brahma, recluses or anyone in the world.


    ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Bhummānam devānam saddam sutvā,

    จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Cātummahārājikā devā saddamanussāvesum Cātummahārājikānam devānam saddam sutvā,

    ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Tāvatimsā devā saddamanussāvesum Tāvatimsānam devānam saddam sutvā,

    ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Yāmā devā saddamanussāvesum Yāmānam devānam saddam sutvā,

    ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Tusitā devā saddamanussāvesum Tusitānam devānam saddam sutvā,

    นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Nimmānaratī devā saddamanussāvesum Nimmānaratīnam devānam saddam sutvā,

    ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Paranimmita-vasavattī devā saddamanussāvesum Paranimmita-vasavattīnam devānam saddam sutvā,

    พรัหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรัหมะกายิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Brahma-kāyikā devā saddamanussāvesum Brahma-kāyikānam devānam saddam sutvā,

    พรัหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะปะริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Brahma-parisajja devā saddamanussāvesum Brahma- parisajjanam devānam saddam sutvā,

    พรัหมะปะโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะปะโรหิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Brahma-parohita devā saddamanussāvesum Brahma-parohitanam devānam saddam sutvā,

    มะหาพรัหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ มะหาพรัหมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Maha-brahma devā saddamanussāvesum Maha-brahmanam devānam saddam sutvā,

    ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Parittabha devā saddamanussāvesum Parittabhanam devānam saddam sutvā,

    อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสา เวสุง ฯ อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Appamanabha devā saddamanussāvesum Appamanabhanam devānam saddam sutvā,

    อาภัสสะรา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Abhassara devā saddamanussāvesum Abhassaranam devānam saddam sutvā,

    ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Parittasubha devā saddamanussāvesum Parittasubhanam devānam saddam sutvā,

    อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Appamanasubha devā saddamanussāvesum Appamanasubhanam devānam saddam sutvā,

    สุภะกิณหะกา เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุงฯ สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Subhakinhaka devā saddamanussāvesum Subhakinhakanam devānam saddam sutvā,

    เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Vehapphala devā saddamanussāvesum Vehapphalanam devānam saddam sutvā,

    อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Aviha devā saddamanussāvesum Avihanam devānam saddam sutvā,

    อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสา เวสุง ฯ อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Atappa devā saddamanussāvesum Atappanam devānam saddam sutvā,

    สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Sudassa devā saddamanussāvesum Sudassanam devānam saddam sutvā,

    สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    Sudassi devā saddamanussāvesum Sudassi devānam saddam sutvā,

    อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
    Akanitthaka devā saddamanussāvesum.

    เหล่าเทพเจ้าชั้นจาตุมมหาราชิกา ครั้นได้ยินเสียงเหล่าเทพภุมเทวดาต่างก็ส่งเสียงสาธุ การ บันลือลั่นสืบต่อไปจนถึงเทพเจ้าชั้นดาวดึงส์ ชั้นยามา ชั้นดุสิต ชั้นนิมมานรดี ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี จนกระทั่งถึงชั้นพรหม ตั้งแต่พรหมปาริสัชชา พรหมปโรหิตา มหาพรหม ปริตตาภาพรหม อัปมาณาภาพรหม อาภัสสราพรหม ปริตตสุภาพรหม อัปปมาณสุภาพรหม สุภกิณหกาพรหม เวหัปผลาพรหม อวิหาพรหม อตัปปาพรหม สุทัสสาพรหม สุทัสสีพรหม จนกระทั่งถึงอกนิฎฐกาพรหมเป็นที่สุด ก็ส่งเสียงสาธุการบันลือลั่น

    After hearing these agreeable words of Bhumadevas, the deities in the upper realms from Chatummharajika, then Tavatimsa to Yama to Tusita to Nimmanarati to Paranimmitavasavatti proclaimed……… and heard in the brahma realms, they proclaimed from Brahma-parisajja to Brahma-parohita to Maha-brahma to Parittabha to Appamanabha to Abhassara to Parittasubha to Appamanasubha to Subhakinhaka to Vehapphala to Aviha to Atappa to Sudassa to Sudassi to the highest realm* – Akanitthaka proclaimed that:

    31 realms or existences mentioned in the thread ‘Trai Bhum Pra Ruang’


    “เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ" ฯ

    "Etam-Bhagavatā Bārānasiyam isipatane migadāye anuttaram dhamma-cakkam pavattitam, Appativattiyam samanena vā brāhmanena vā devena vā mārena vā brahmunā vā kenaci vā lokasminti."

    "นั่นคือ วงล้อแห่งธรรมอันยอดเยี่ยม ไม่มีอะไรเทียบได้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงประกาศให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี ซึ่งวงล้อแห่งธรรมอย่างนี้ อันสมณพราหมณ์ ตลอดถึงเทวดา มาร พรหม และใคร ๆ ในโลก จะเปลี่ยนแปลงคัดค้านไม่ได้"

    This is the supreme Wheel of Dhamma that has been set in motion by the Blessed One at Isipatana, near Veranasi, and cannot be set or reversed by deva, mara, brahma, recluses or anyone in the world.


    อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรัหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิ ฯ
    Itiha tena khanena tena muhuttena, Yāva brahma-lokā saddo abbhuggacchi
    และโดยขณะหนึ่งครู่หนึ่งนั้น เสียงก็ดังขึ้นไปถึงพรหมโลกด้วยประการฉะนี้ ฯ
    Thus for that moment, the voices of this proclamation spread to the Brahma world


    อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิ ฯ อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ
    Ayanca dasa-sahassī loka-dhātu, Sankampi sampakampi sampavedhi, Appamāno ca olāro obhāso loke pāturahosi, Atikkammeva devānam devānubhāvam.

    ทั้งหมื่นโลกธาตุ ได้หวั่นไหวสะเทือนสะท้านลั่นไป อีกทั้งแสงสว่างอันใหญ่ยิ่งไม่มีประมาณ ได้ปรากฏแล้วในโลก เหนือกว่าอานุภาพของเหล่าเทวา
    All ten thousand worlds shaken and trembled in all directions, infinite sublime radiance appeared in the worlds, surpassing the effulgence and powers of all celestial beings.
     
  15. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    ต่อ(cont)
    อะถะ โข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณทัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณทัญโญติ อิติหิทัง อายัสมะโต โกณทัญญัสสะ "อัญญาโกณทัญโญ" เตววะ นามัง อะโหสีติ ฯ
    Atha kho Bhagavā udānam udānesi,"Annāsi vata bho Kondanno, Annāsi vata bho Kondannoti." Itihidam āyasmato Kondannassa, Anna-kondanno tveva nāmam, ahosīti

    ในลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงเปล่งอุทานขึ้นว่า "โกณทัญญะผู้เจริญได้รู้แล้วหนอ โกณทัญญะผู้เจริญได้รู้แล้วหนอ" เพราะเหตุนั้น นามว่า "อัญญาโกณทัญญะ" ได้มีแล้วแก่พระโกณทัญญะ ด้วยประการฉะนี้ แลฯ

    Then the Blessed One uttered “Kondanna has realized (the Noble Truth), Kondanna has understood” thus, the name Anna Kondanna was given.

    Posted 9th April 2013 by แก้ว กล้า
     
  16. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    Yuvabadhana Foundation - Phra Maha Vuthichai Vachiramethi

    woonrus
    Published on Mar 7, 2011
     
  17. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    ACRD_102 Paritta Chanting (with Pali Text and English translation)

    Losel Boon Hong Chuah
    Published on Nov 28, 2013
    Paritta Chanting by Venerable monks during ACRD 2011 in Malaysia. "The Ajahn Chah Remembrance Day (ACRD) is a special day devoted to one of the great contemporary Buddhist monks in Thailand, Venerable Ajahn Chah who is also known as Ajahn Chah Subhaddo. The two-day event on the 17th & 18th of December 2011, were held at the SJK (C) Yuk Chai (Taman Megah) school hall, attended by Venerable monks from the UK, Canada, Australia, New Zealand, Thailand and Malaysia.
     
  18. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
  19. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    KarmaRule.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • KarmaRule.jpg
      KarmaRule.jpg
      ขนาดไฟล์:
      74.4 KB
      เปิดดู:
      332
  20. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,937
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,051
    Chin Ban Chorn With Eng. Lyric - The Holy Buddhist Pray

    pex00pex
    Published on Dec 9, 2012

    Somdej To found this holy pray in a cave in Sri Lanka round 200 years ago and brought this pray to Thailand. This is one of the holiest Buddhist Pray. When you are praying, you build 7 diamond walls around you, they will protect you from all harms. Bad people... bad things and all dangers can't hurt or get close to you. I pray once every day :)
    How to pray ???

    You first have to pray for Buddha Teacher with Namo Tassa Pakawato Ara Hato Samma Samput Tassa (3 times)
    *** Then you pray for ' Somdej To ' who found the Chin Ban Chorn ***** (1 time) Putta Gamo Lape Puttang - Tana Gamo Lape Tanang Atthi Gaye Gaya Yaya - Tewanang Piyatang Suttawa Itipiso Pakawa - Yama Racha No Tao Wessuwan No - Maranang Ara Hang Sukkato Namo Puttaya
    **** Now you can begin to pray ' Chin Ban Chorn ' ***** (1 - 3 times)
    Good Luck to you all... :)
     

แชร์หน้านี้

Loading...