แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ และเขื่อน

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย สิกขิม, 16 พฤษภาคม 2007.

  1. สิกขิม

    สิกขิม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    1,310
    ค่าพลัง:
    +6,034
    มีซากภูเขาไฟกระจายอยู่เกือบทุกภูมิภาคในประเทศไทย คือ
     
  2. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,706
    ค่าพลัง:
    +51,936
    ภูเขาไฟ...ไม่เคยตาย
    เปลือกโลก....ไม่เคยตาย

    อย่าประมาท !!!!!!!

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  3. สิกขิม

    สิกขิม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    1,310
    ค่าพลัง:
    +6,034
    รอยเลื่อนสะแกงจากเมืองพม่า สำคัญนัก
     
  4. สิกขิม

    สิกขิม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    1,310
    ค่าพลัง:
    +6,034
    ๑๔ จุด รอยเลื่อนมีพลัง ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดแผ่นดินไหว นั้นได้แก่

    ๑. รอยเลื่อนแม่จัน
    ๒. รอยเลื่อนแม่ทา
    ๓. รอยเลื่อนเถิน-ลอง-แพร่
    ๔. รอยเลื่อนน้ำปัด
    ๕. รอยเลื่อนปัว
    ๖. รอยเลื่อนพะเยา
    ๗. รอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน
    ๘. รอยเลื่อนปิง

    ๙. รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์
    ๑๐. รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์
    ๑๑. รอยเลื่อนระนอง
    ๑๒. รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย
    ๑๓. รอยเลื่อนคลองท่อม
    ๑๔. รอยเลื่อนโคกโพธิ์-สะบ้าย้อย-ยะลา-เบตง


    แนวรอยเลื่อนจากกาญจนบุรี อยู่ในระยะใกล้กรุงเทพสี่ร้อยกิโลเมตร

    พึงระวังและสังวรณ์อย่างยิ่งสำหรับปฏิกิริยาโดมิโน เมื่อเกิดสิ่งหนึ่งจะพาดพิงไปยังอีกสิ่ง

    การเตือนมิใช่เพื่อก่อความตึงเครียด ทว่า เพื่อความไม่ประมาท นั่นคือจุดมุ่งหมาย
     
  5. rosey

    rosey เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    163
    ค่าพลัง:
    +1,345
    ภูเขาไฟ.. ไม่เคยตาย..
    ทะเล.. ไม่เคยหลับ..
    (bb-flower (bb-flower (bb-flower
     
  6. Khunkik

    Khunkik เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2006
    โพสต์:
    2,150
    ค่าพลัง:
    +18,072
    What ever will be ...will be...the future not our could see...
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,792
    ผู้ว่าฯ ชัยภูมิ เผยเกิดรอยแยกที่เขาพังเหย สั่งเฝ้าระวังเข้ม
    วันที่ 18 พ.ค. 2550​





    วันนี้ (18 พ.ค.) นายพัฒน์พงศ์ พยัคฆันตร รองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานการประชุมเตรียมความพร้อม และกำหนดมาตรการดำเนินการเร่งด่วน เพื่อรับมือหากเกิดกรณีดินและหินจากเทือกเขาพังเหยร่วงหล่น ซึ่งก่อนหน้านี้เกิดการแยกตัวของดินและหิน ในระดับสูงขึ้นไปจากระดับทางหลวงแผ่นดินสาย 225 ชัยภูมิ – นครสวรรค์ บริเวณจุดชมวิว ทางลงเขาพังเหย เขตรอยต่อระหว่างอำเภอหนองบัวระเหว กับอำเภอภักดีชุมพล จ.ชัยภูมิ

    รองผู้ว่าฯ จ.ชัยภูมิ กล่าวต่อว่า จังหวัดจึงจัดเจ้าหน้าที่เข้าประจำจุดเฝ้าเวรยาม เพื่อระวังเหตุการณ์ และแจ้งเตือนประชาชนที่สัญจรผ่านไปมา ให้ระมัดระวังหินและดินถล่ม อย่างไรก็ดีช่วงนี้สถานการณ์ฝนตกไม่น่าไว้วางใจ อาจเกิดฝนตกหนักขึ้นมาวันใดก็ได้ เนื่องจากเป็นช่วงของฤดูฝน จึงต้องประชุมซักซ้อมเจ้าหน้าที่ทุกฝ่าย ทั้งแขวงการทาง ตำรวจ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ นายอำเภอ สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด และสำนักงานป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เพื่อวางแผน ตระเตรียม อุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ไว้ให้พร้อม หากเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถนำออกมาใช้อย่างทันท่วงที
     
  8. สิกขิม

    สิกขิม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    1,310
    ค่าพลัง:
    +6,034
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ฟิลิปปินส์เตือนภัยโคลนไหลจากภูเขาไฟ</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left></TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>21 พฤษภาคม 2550 16:25 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>สถาบันแผ่นดินไหวและภูเขาไฟของฟิลิปปินส์ แถลงเตือนว่า สภาวะที่เป็นอยู่ในขณะนี้อาจจะก่อให้เกิดการปะทุติดตามมา ประชาชนที่อยู่ใกล้ลำธารหรือแม่น้ำควรระวังโคลนภูเขาไฟไหลและน้ำท่วมฉับพลันในช่วงฝนตกหนัก เพราะจะกวาดเอาเถ้าถ่านและสิ่งที่สะสมจากด้านบนของภูเขาลงมาด้วย


    เหตุการณ์โคลนภูเขาไฟไหลเคยคร่าชีวิตชาวฟิลิปปินส์ไปแล้วกว่า 1,300 คนเมื่อปลายปีที่แล้ว เมื่อพายุไต้ฝุ่นพัดเอาเถ้าถ่านไหลลงจากภูเขาไฟมายอนที่อยู่ไม่ห่างจากภูเขาไฟบูลูซัน

    ภูเขาไฟบูลูซัน สูง 1,565 เมตร เริ่มพ่นเถ้าถ่านและไอร้อนอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ต้นเดือนนี้ และเมื่อวันที่ 12 ที่ผ่านมา เถ้าถ่านแผ่กระจายครอบคลุมหลายหมู่บ้านและหลายเมือง

    ภูเขาไฟบูลูซัน ตั้งอยู่ใกล้ปลายด้านตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะลูซอน ห่างจากกรุงมะนิลา 250 กิโลเมตร พ่นเถ้าถ่านเป็นระยะๆ ตั้งแต่เดือนตุลาคมปีก่อน เคยปะทุมาแล้วไม่ต่ำกว่า 15 ครั้ง นับตั้งแต่ปี 2429 โดยปะทุครั้งล่าสุดเมื่อปี 2538


    http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9500000058269


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,895
    การกระจายตัวของภูเขาไฟและการเกิดแผ่นดินไหวไม่ได้เกิดอย่างไม่มีระบบแบบแผน แต่หากการเกิดปฏิกิริยาของโลกเหล่านี้ ล้วนมาจากการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก (Plate tectonics) ภูเขาไฟนั้นจะพบมากในสามเขตที่สัมพันธ์กับการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก (plate tectonics) สาเหตุนี้ได้แก่ แนวพื้นมหาสมุทร (Oceanic ridges) ส่วนประชิดกับร่องลึกมหาสมุทร (Ocean trench) และภายในของแผ่นเปลือกโลกเอง
    [​IMG]
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,895
    <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="750"><tbody><tr><td align="right">
    </td> <td align="right" nowrap="nowrap" width="200"></td> </tr> </tbody></table> <table align="center" border="0" cellpadding="10" cellspacing="0" height="410" width="750"><tbody><tr valign="top"><td width="350">
    [​IMG]
    </td> <td width="360"><table border="0" width="360"> </table> เมื่อแผ่นเปลือกโลกสองแผ่นเคลื่อนที่เข้าหากัน บริเวณศูนย์กลางของทั้งสองแผ่นจะค่อยๆ แยกออกจากกัน เมื่อแผ่นเปลือกโลกแยกจากกันนั้น แมกมาหินหนืดจำนวนมหาศาลจะเคลื่อนตัวขึ้นมาระหว่างรอยแยกและปิดรอยแยกระหว่างสองแผ่นเปลือกโลกนั้น บริเวณที่เกิดหินภูเขาไฟจำนวนมากที่สุดได้แก่บริเวณรอยแยกของพื้นทะเล ดังนั้นบริเวณที่เราจะพบภูเขาไฟชนิดนี้คือบริเวณกลางแนวพื้นมหาสมุทรแอตแลนติคและเขตรอยแตกแอฟริกัน (African Rift Zone)

    ปฏิกิริยาภูเขาไฟภายในแผ่นเปลือกโลก (ปฏิกิริยาภายในเปลือกโลก)
    ปฏิกิริยาภูเขาไฟ ที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการที่แผ่นเปลือกโลกสองแผ่นมาปะทะกัน ก็สามารถเกิดขึ้นได้ภายในแผ่นเปลือกโลกแผ่นใดแผ่นหนึ่งเช่นกัน การเกิดภูเขาไฟพวกนี้มีเหตุมาจากเนื้อโลกร้อนที่อ่อนตัว ที่มีอยู่ในในส่วนลึกใต้พิพภ ส่วนที่อ่อนตัวนี้เมื่อเคลื่อนขึ้นมาถึงผิวก็จะกระจายตัวออกตามแนวขวางที่มีความกว้างเป็นร้อยๆ กิโลเมตร อาณาเขตของภูเขาไฟนี้เรียกว่า จุดร้อน (Hotspot) จุดร้อนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดจะอยู่บริเวณใต้เกาะฮาวาย ประเทศไอซ์แลนด์ก็เกิดจากปรากฏการณ์จุดร้อนนี้ รวมทั้งปฏิกิริยาภูเขาไฟที่อุทยานแห่งชาติเยลโล่สโตน (Yellowstone national Park) ในประเทศสหรัฐอเมริกาก็เช่นกัน ทั้งนี้ นักวิทยาศาสตร์ยังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงที่ทำให้เกิดจุดร้อนดังกล่าว </td></tr></tbody></table>
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,895
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td><table style="width: 750px; height: 26px;" border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"><tbody><tr><td align="right" height="25">
    </td> <td align="right" width="200">
    </td> <td align="right" nowrap="nowrap" width="30">
    </td> <td align="right" nowrap="nowrap" width="15">
    </td> <td align="right" nowrap="nowrap" width="10">
    </td> <td align="right" nowrap="nowrap" width="10">
    </td> <td align="right" nowrap="nowrap" width="10">2</td> <td align="right" nowrap="nowrap" width="15">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td> <table border="0" cellpadding="10" cellspacing="0" width="750"> <tbody><tr valign="top"> <td width="350">
    </td> </tr> <tr valign="top"> <td>
    [​IMG]
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> ไม่เป็นที่น่าประหลาดใจแต่อย่างใดเลย ถ้ามีการค้นพบปฏิกิริยาภูเขาไฟแล้วก็จะต้องพบปฏิกิริยาการไหวสะเทือนของแผ่นดิน หรือแผ่นดินไหวพร้อมๆ กันไป ที่เป็นเช่นนี้เนื่องมาจาก แผ่นดินไหวนั้นเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก บริเวณศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหวจึงมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับรอยต่อแผ่นเปลือกโลก แผ่นดินไหวนั้นเป็นปรากฏการณ์การไหวสะเทือนของโลกที่ปล่อยพลังงานออกมาอย่างรวดเร็ว บริเวณที่พบว่าเกิดแผ่นดินไหวมากที่สุดคือ บริเวณตามรอยเลื่อน (fault) ที่เกิดตามแนวรอยต่อแผ่นเปลือกโลกสองแผ่น ประมาณ 95 % ของพลังงานที่ปลดปล่อยจากการเกิดแผ่นดินไหวจะออกมาจากแนวแคบๆ เพียงไม่กี่แห่งบนโลก
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,895

    [​IMG]

    <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="90%"><tbody><tr> <td valign="top">จุดเหนือศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว หรือ เอพิเซนเตอร์ epicenter </td> </tr> <tr> <td>
    จุดเหนือศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว หรือ เอพิเซนเตอร์ นี้ เป็นจุดที่อยู่บนผิวโลก โดยอยู่เหนือและตรงกับจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวที่อยู่ภายในโลก (ดูภาพประกอบ) จุดที่เป็นเอพิเซนเตอร์ของการเกิดแผ่นดินไหวแต่ละครั้ง สามารถหาตำแหน่งได้จากการหาค่าต่างของความเร็วคลื่น P และคลื่น S จากการที่เรารู้ว่า คลื่น P เคลื่อนที่ได้เร็วกว่าคลื่น S นั้น เมื่อเกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน และ ไซสโมแกรมก็จะบันทึกคลื่น P ได้ก่อนคลื่น S ช่วงห่างของคลื่น P แรก กับ คลื่น S แรก บ่งบอกถึงระยะห่างของจุดที่กำลังวัดค่ากับ เอพิเซนเตอร์</td></tr></tbody></table>
     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,895
    [SIZE=-1]รวมรายงานแผ่นดินไหวของโลกที่มีความรุนแรงกว่า 8.0 นับตั้งแต่ปี 1990[/SIZE] Magnitude 8 and Greater Earthquakes Since 1990

    <!-- insert start -->
    <center>
    [​IMG]

    <table bgcolor="#ffffff" border="1" cellpadding="2" cellspacing="2"> <caption> Earthquakes Magnitude 8.0 and Greater Since 1990 </caption> <tbody><tr valign="top"> <th class="zarial" id="t1"> </th> <th class="zarial" id="t2">Year</th> <th class="zarial" id="t3">Month</th> <th class="zarial" id="t4">Day</th> <th class="zarial" id="t5">Time
    UTC</th> <th class="zarial" id="t6">Latitude</th> <th class="zarial" id="t7">Longitude</th> <th class="zarial" id="t8">Depth
    (km)</th> <th class="zarial" id="t9">Magnitude</th> <th class="zarial" id="t10">Region</th> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">1</td> <td class="zarial" headers="t2">1994</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">06</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">09</td> <td class="zarial" headers="t5">00:33:16.2</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">-13.841</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">-67.533</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">631</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.2</td> <td class="zarial" headers="t10">Northern Bolivia</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">2</td> <td class="zarial" headers="t2">1994</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">10</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">04</td> <td class="zarial" headers="t5">13:22:55.8</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">43.773</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">147.321</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">14</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.3</td> <td class="zarial" headers="t10">Kuril Islands</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">3</td> <td class="zarial" headers="t2">1995</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">07</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">30</td> <td class="zarial" headers="t5">05:11:23.6</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">-23.340</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">-70.294</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">46</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.0</td> <td class="zarial" headers="t10">Near Coast of Northern Chile</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">4</td> <td class="zarial" headers="t2">1995</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">10</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">09</td> <td class="zarial" headers="t5">15:35:53.9</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">19.055</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">-104.205</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">33</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.0</td> <td class="zarial" headers="t10">Near Coast of Jalisco, Mexico</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">5</td> <td class="zarial" headers="t2">1996</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">02</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">17</td> <td class="zarial" headers="t5">05:59:30.5</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">-0.891</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">136.952</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">33</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.2</td> <td class="zarial" headers="t10">Irian Jaya Region, Indonesia</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">6</td> <td class="zarial" headers="t2">1998</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">03</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">25</td> <td class="zarial" headers="t5">03:12:25.0</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">-62.877</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">149.527</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">10</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.1</td> <td class="zarial" headers="t10">Balleny Islands Region</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">7</td> <td class="zarial" headers="t2">2000</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">11</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">16</td> <td class="zarial" headers="t5">04:54:56.7</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">-3.980</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">152.169</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">33</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.0</td> <td class="zarial" headers="t10">New Ireland Region, P.N.G.</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">8</td> <td class="zarial" headers="t2">2001</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">06</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">23</td> <td class="zarial" headers="t5">20:33:14.1</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">-16.265</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">-73.641</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">33</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.4</td> <td class="zarial" headers="t10">Near Coast of Peru</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">9</td> <td class="zarial" headers="t2">2003</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">09</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">25</td> <td class="zarial" headers="t5">19:50:06.3</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">41.815</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">143.910</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">27</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.3</td> <td class="zarial" headers="t10">Hokkaido, Japan Region</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">10</td> <td class="zarial" headers="t2">2004</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">12</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">23</td> <td class="zarial" headers="t5">14:59:04.3</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">-50.240</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">160.133</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">10</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.1</td> <td class="zarial" headers="t10">North of Macquarie Island</td> </tr> <tr bgcolor="#ffcc66" valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">11</td> <td class="zarial" headers="t2">2004</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">12</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">26</td> <td class="zarial" headers="t5">00:58:53.4</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">3.307</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">95.951</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">10</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">9.1</td> <td class="zarial" headers="t10">Off West Coast of Northern Sumatra</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">12</td> <td class="zarial" headers="t2">2005</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">03</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">28</td> <td class="zarial" headers="t5">16:09:36.2</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">2.074</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">97.013</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">30</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.6</td> <td class="zarial" headers="t10">Northern Sumatra, Indonesia</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">13</td> <td class="zarial" headers="t2">2006</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">11</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">15</td> <td class="zarial" headers="t5">11:14:13.5</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">46.592</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">153.226</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">10</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.3</td> <td class="zarial" headers="t10">Kuril Islands</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">14</td> <td class="zarial" headers="t2">2007</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">01</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">13</td> <td class="zarial" headers="t5">04:23:21.1</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">46.243</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">154.524</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">10</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.1</td> <td class="zarial" headers="t10">East of the Kuril Islands</td> </tr> <tr valign="top"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">15</td> <td class="zarial" headers="t2">2007</td> <td class="zarial" headers="t3" align="right">04</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">01</td> <td class="zarial" headers="t5">20:39:57.4</td> <td class="zarial" headers="t6" align="right">-8.487</td> <td class="zarial" headers="t7" align="right">156.986</td> <td class="zarial" headers="t8" align="right">18</td> <td class="zarial" headers="t9" align="center">8.1</td> <td class="zarial" headers="t10">Solomon Islands</td> </tr> </tbody></table> South Latitudes and West Longitudes are indicated by NEGATIVE numbers.
    Source: USGS NEIC PDE catalog; Data are preliminary.

    </center> [​IMG]
    [​IMG]
    <table border="1" cellpadding="2" cellspacing="2"><caption> Deaths from Magnitude 8 and Greater Earthquakes
    Since 1990
    </caption> <tbody><tr valign="top"> <th class="zarial" id="t1">Date
    UTC</th> <th class="zarial" id="t2">Region </th><th class="zarial" id="t3">Magnitude</th> <th class="zarial" id="t4">Number
    Killed </th></tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">1994 06 09</td> <td class="zarial" headers="t2">Northern Bolivia</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.2</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">10</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">1994 10 04</td> <td class="zarial" headers="t2">Kuril Islands</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.3</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">11</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">1995 07 30</td> <td class="zarial" headers="t2">Near Coast of Northern Chile</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.0</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">3</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">1995 10 09</td> <td class="zarial" headers="t2">Near Coast of Jalisco, Mexico</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.0</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">49</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">1996 02 17</td> <td class="zarial" headers="t2">Irian Jaya Region, Indonesia</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.2</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">166</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">1998 03 25</td> <td class="zarial" headers="t2">Balleny Islands Region</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.1</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">0</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">2000 11 16</td> <td class="zarial" headers="t2">New Ireland Region, P.N.G.</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.0</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">2</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">2001 06 23</td> <td class="zarial" headers="t2">Near Coast of Peru</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.4</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">138</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">2003 09 25</td> <td class="zarial" headers="t2">Hokkaido, Japan Region</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.3</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">0</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">2004 12 23</td> <td class="zarial" headers="t2">North of Macquarie Island</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.1</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">0</td> </tr> <tr bgcolor="#ffcc66"> <td class="zarial" headers="t1" align="right">2004 12 26</td> <td class="zarial" headers="t2">Off West Coast of Northern Sumatra</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">9.1</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">283106</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">2005 03 28</td> <td class="zarial" headers="t2">Northern Sumatra, Indonesia</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.6</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">1313</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">2006 11 15</td> <td class="zarial" headers="t2">Kuril Islands</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.3</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">0</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">2007 01 13</td> <td class="zarial" headers="t2">East of the Kuril Islands</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.1</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">0</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" align="right">2007 04 01</td> <td class="zarial" headers="t2">Solomon Islands</td> <td class="zarial" header="t3" align="center">8.1</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">34</td> </tr> <tr> <td class="zarial" headers="t1" colspan="3">Total</td> <td class="zarial" headers="t4" align="right">284832</td></tr></tbody></table>
     
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,895
    การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก

    [FONT=Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif] เปลือกโลกมิได้เป็นแผ่นเดียวต่อเนื่องติดกันดังเช่นเปลือกไข่ หากแต่เหมือนเปลือกไข่แตกร้าว มีแผ่นหลายแผ่นเรียงชิดติดกันเรียกว่า “เพลต” (Plate) ซึ่งมีอยู่ประมาณ 20 เพลต เพลตที่มีขนาดใหญ่ ได้แก่ เพลตแปซิฟิก เพลตอเมริกาเหนือ เพลตอเมริกาใต้ เพลตยูเรเซีย เพลตแอฟริกา เพลตอินโด-ออสเตรเลีย และเพลตแอนตาร์กติก เป็นต้น เพลตแปซิฟิกเป็นเพลตที่ใหญ่ที่สุดและไม่มีเปลือกทวีป กินอาณาเขตหนึ่งในสามของพื้นผิวโลก เพลตทุกเพลตเคลื่อนตัวเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างอยู่ตลอดเวลา (ดูภาพที่ 1)[/FONT]
    [​IMG]
    ภาพที่ 1 การเคลื่อนตัวของเพลต
    กระบวนการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก
    เพลตประกอบด้วยเปลือกทวีปและเปลือกมหาสมุทรวางตัวอยู่บนแมนเทิลชั้นบนสุด ซึ่งเป็นของแข็งในชั้นลิโทสเฟียร์ ลอยอยู่บนหินหนืดร้อนในชั้นแอสทีโนสเฟียร์อีกทีหนึ่ง หินหนืด (Magma) เป็นวัสดุเนื้ออ่อนเคลื่อนที่หมุนเวียนด้วยการพาความร้อนภายในโลก คล้ายการเคลื่อนตัวของน้ำเดือดในกาต้มน้ำ การเคลื่อนตัวของวัสดุในชั้นแอสทีโนสเฟียร์ทำให้เกิดการเคลื่อนตัวเพลต (ดูภาพที่ 2) เราเรียกกระบวนการเช่นนี้ว่า “ธรณีแปรสัณฐาน” หรือ “เพลตเทคโทนิคส์” (Plate Tectonics)
    [​IMG]
    ภาพที่ 2 กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน

    [​IMG] การพาความร้อนจากภายในของโลกทำให้วัสดุในชั้นแอสทีโนสเฟียร์ (Convection cell) ลอยตัวดันพื้นมหาสมุทรขึ้นมากลายเป็น “สันกลางมหาสมุทร” (Mid-ocean ridge) หินหนืดร้อนหรือแมกม่าซึ่งโผล่ขึ้นมาผลักพื้นมหาสมุทรให้เคลื่อนที่ขยายตัวออกทางข้าง
    [​IMG] เนื่องจากเปลือกมหาสมุทรมีความหนาแน่นมากกว่าเปลือกทวีป ดังนั้นเมื่อเปลือกมหาสมุทรชนกับเปลือกทวีป เปลือกมหาสมุทรจะมุดตัวต่ำลงกลายเป็น “เหวมหาสมุทร” (Trench) และหลอมละลายในแมนเทิลอีกครั้งหนึ่ง
    [​IMG] มวลหินหนืดที่เกิดจากการรีไซเคิลของเปลือกมหาสมุทรที่จมตัวลง เรียกว่า “พลูตอน” (Pluton) มีความหนาแน่นน้อยกว่าเปลือกทวีป จึงลอยตัวแทรกขึ้นมาเป็นแนวภูเขาไฟ เช่น เทือกเขาแอนดีสทางฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้
    [​IMG]
    ภาพที่ 3 รอยต่อของเพลต
    รอยต่อของขอบเพลต (Plate boundaries)
    [​IMG] เพลตแยกจากกัน (Divergent) เมื่อแมกม่าในชั้นแอสทีโนสเฟียร์ดันตัวขึ้น ทำให้เพลตจะขยายตัวออกจากกัน แนวเพลตแยกจากกันส่วนมากเกิดขึ้นในบริเวณสันกลางมหาสมุทร (ภาพที่ 3)
    [​IMG] เพลตชนกัน (Convergent) เมื่อเพลตเคลื่อนที่เข้าชนกัน เพลตที่มีความหนาแน่นสูงกว่าจะมุดตัวลงและหลอมละลายในแมนเทิล ส่วนเพลตที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าจะถูกเกยสูงขึ้นกลายเป็นเทือกเขา เช่น เทือกเขาหิมาลัย เกิดจากการชนกันของเพลตอินเดียและเพลตเอเชีย เทือกเขาแอพพาเลเชียน เกิดจากการชนกันของเพลตอเมริกาเหนือกับเพลตแอฟริกา
    [​IMG] รอยเลื่อน (Transform fault) เป็นรอยเลื่อนขนาดใหญ่ มักเกิดขึ้นในบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร แต่บางครั้งก็เกิดขึ้นบริเวณชายฝั่ง เช่น รอยเลื่อนแอนเดรียส์ ที่ทำให้เกิดแผ่นดินไหวในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา เกิดจากการเคลื่อนที่สวนกันของเพลตอเมริกาเหนือและเพลตแปซิฟิก
    วัฏจักรวิลสัน
    หินบนเปลือกโลกส่วนใหญ่มีอายุน้อยไม่กี่ร้อยล้านปี เมื่อเทียบกับโลกซึ่งมีอายุประมาณ 4,000 ล้านปี และเปลือกโลกก็มีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา นักธรณีวิทยาชาวแคนาดาชื่อ ทูโซ วิลสัน ได้ตั้งสมมติฐานไว้ว่า เพลตขนาดใหญ่ถูกทำลายและสร้างขี้นใหม่ในลักษณะรีไซเคิลทุกๆ 500 ล้านปี เนื่องจากโลกของเรามีเส้นรอบวงยาวประมาณ 40,000 กิโลเมตร จึงคำนวณได้ว่า เพลตเคลื่อนที่ด้วยความเร็วปีละ 4 เซนติเมตร ดังนั้นเพลตสองเพลตซึ่งแยกตัวออกจากกันในซีกโลกหนึ่ง จะเคลื่อนที่ไปชนกันในซีกโลกตรงข้ามโดยใช้เวลาประมาณ 500 ล้านปี ดูรายละเอียดในภาพที่ 4
    [​IMG]
    ภาพที่ 4 วัฏจักรวิลสัน
    [​IMG] ภาพที่ 4 ก. เพลตเกิดขึ้นใหม่จากการโผล่ขึ้นของแมกม่าในจุดร้อนใต้มหาสมุทร แมกมาดันเปลือกทวีปทั้งสองแยกจากกัน และเคลื่อนที่ไปชนเปลือกมหาสมุทรในซีกโลกฝั่งตรงข้ามซึ่งมีอุณหภูมิต่ำกว่าและจมตัวลง การชนกันทำให้มหาสมุทรทางด้านตรงข้ามมีขนาดเล็กลง
    [​IMG] ภาพที่ 4 ข. เปลือกทวีปชนกันทำให้เกิดทวีปขนาดยักษ์ในซีกโลกหนึ่ง และอีกซีกโลกหนึ่งกลายเป็นมหาสมุทรขนาดยักษ์เช่นกัน
    [​IMG] ภาพที่ 4 ค. เมื่อเวลาผ่านไปเปลือกโลกเกิดการแยกตัวเนื่องจากจุดร้อนข้างใต้ ทำให้เกิดเปลือกมหาสมุทรอันใหม่ ดันเปลือกทวีปให้แยกตัวจากกัน และเคลื่อนที่ไปชนกับเปลือกมหาสมุทรในซีกตรงข้ามที่เย็นกว่า ทำให้มหาสมุทรทางด้านตรงข้ามมีขนาดเล็กลง และในที่สุดเปลือกทวีปทั้งสองจะชนกัน เป็นอันครบกระบวนการของวัฏจักรวิลสัน
    [​IMG]
    ภาพที่ 5 โลกเมื่อ 200 ล้านปีก่อน
    ทวีปในอดีต
    เมื่อมองดูแผนที่โลก หากเราตัดส่วนที่เป็นพื้นมหาสมุทรออก จะพบว่าส่วนโค้งของขอบแต่ละทวีปนั้น โค้งรับกันราวกับนำมาเลื่อนต่อกันได้เสมือนเกมส์ต่อแผนภาพ (Jigsaw หรือ puzzle) นักธรณีวิทยาพบว่า ตามบริเวณแนวรอยต่อของเพลตต่างๆ มักเป็นที่ตั้งของเทือกเขาสูงและภูเขาไฟ ทั้งบนทวีปและใต้มหาสมุทร การศึกษาการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกด้วยทฤษฎีเพลตเทคโทนิคส์ ประกอบกับร่องรอยทางธรณีวิทยาในอดีตพบว่า เมื่อ 200 ล้านปีก่อน ทุกทวีปอยู่ชิดติดกันเป็นแผ่นดินขนาดใหญ่เรียกว่า “แพนเจีย” (Pangaea) โดยมีดินแดนทางตอนเหนือชื่อ “ลอเรเซีย” (Lawresia) และดินแดนทางใต้ชื่อ “กอนด์วานา” (Gonwana) ซึ่งแบ่งแยกด้วยทะเลเททิส ดังที่แสดงในภาพที่ 5

    [​IMG]
    ภาพที่ 6 สภาพภูมิอากาศในอดีต สีเขียวคือป่าเขตร้อน สีขาวคือธารน้ำแข็ง
    ภาพที่ 6 แสดงให้เห็นว่าเมื่อ 200 ล้านปีก่อน ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา อินเดีย ออสเตรเลีย เคยอยู่ชิดติดกับทวีปแอนตาร์กติกในบริเวณขั้วใต้ ซึ่งเป็นเขตหนาวเย็น โดยมีหลักฐานเป็นร่องรอยของธารน้ำแข็งในอดีต ในขณะที่ตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป และเอเชีย มีหลักฐานบ่งชี้ว่า เคยเป็นเขตร้อนแถบศูนย์สูตรมาก่อน เนื่องจากอุดมสมบูรณ์ด้วยถ่านหินและน้ำมัน ซึ่งเกิดจากการทับถมของพืชในอดีต ประกอบกับหลักฐานทางฟอสซิลในภาพที่ 7 แสดงให้เห็นว่า เมื่อครั้งก่อนแผ่นดินเหล่านี้เคยอยู่ชิดติดกัน พืชและสัตว์บางชนิดจึงแพร่ขยายพันธุ์บนดินแดนเหล่านี้ในอดีต
    [​IMG]
    ภาพที่ 7 การแพร่พันธุ์ของสัตว์ในอดีต

    http://www.lesa.in.th/geo/plate_tectonics/plate_tectonics.htm
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,895
    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    แตกตื่นลาวาภูเขาไฟทะลุกลางอำเภอ

    กรมทรัพย์ฯเตือนอันตรายอาจปะทุอีก
    ผู้สื่อข่าวรายงานว่า พ.ต.อ.เปรื่อง นาคะพงษ์ ผกก.สภ.อ.ละหานทราย บุรีรัมย์ ได้รับแจ้งจากนายวิทยา บุญเต็ม อายุ 20 ปี อยู่บ้านเลขที่ 91 หมู่ 17 ต.ตาจง อ.ละหานทราย จ.บุรีรัมย์ ซึ่งนำก้อนหินคล้ายลาวามอบให้และเล่าว่า เมื่อคืนที่ผ่านมาได้ขี่รถจักรยานยนต์ผ่านบริเวณป่าข้างทาง กม.1-2 ถนนละหานทราย-เฉลิมพระเกียรติ บ้านโนนสง่า หมู่ 2 ต.ละหานทราย อ.ละหานทราย จ.บุรีรัมย์ พบว่าข้างทางมีเปลวไฟพวยพุ่งขึ้นจากพื้นดินเป็นสีเขียวแดงตนไม่กล้าหยุดรถดูจึงขี่รถจักรยานยนต์กลับบ้านไปเล่าให้เพื่อนบ้านฟัง จนรุ่งเช้าขี่กลับมาและได้แวะดูพบเป็นก้อนหินไหลเป็นทางลงแอ่งน้ำข้างทาง จึงเรียกเพื่อนบ้านมาดูและพากันเชื่อว่าน่าจะเป็นหินลาวาพุ่งขึ้นจากใต้ดินและอาจจะนำโชคมาให้ ก่อนมาแจ้งตำรวจ
    ด้าน พ.ต.อ.เปรื่อง นาคะพงษ์ ผกก. สภ.อ.ละหานทราย จ.บุรีรัมย์ ได้นำกำลังรุดไปตรวจสอบที่เกิดเหตุพบชาวบ้านจำนวนมากพากันลงขุดเอาดินและหินลาวา จึงได้ให้เจ้าหน้าที่นำเชือกมาล้อมรอบเพราะเกรงจะเป็นอันตรายและห้ามชาวบ้านไม่ให้ขุดโดยเด็ดขาด ได้รายงานให้ พล.ต.ต.ชินทัต มีศุข ผบก.ภ.จ.บุรีรัมย์ทราบ และได้แจ้งไปที่สำนักงานอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เขต 2 จ.นครราชสีมา และกองธรณีพิบัติภัย กรมทรัพยากรธรณี กรุงเทพฯ ซึ่งเจ้าหน้าที่ให้กันฝูงชนไว้เชื่อว่าน่าจะเป็นลาวาใต้พื้นโลกที่เริ่มระอุและอาจจะปะทุขึ้นมาเมื่อใดก็ได้เพราะเขต อ.ละหานทราย จ.บุรีรัมย์ อยู่ห่างจากอุทยานปราสาทเขาพนมรุ้งเพียง 20 กิโลเมตร และเขาอังคารซึ่งเป็นปล่องภูเขาไฟในอดีต เพียง 10 กิโลเมตร พื้นที่โดยทั่วไปใน จ.บุรีรัมย์จะมีภูเขาไฟอยู่จำนวนมาก แต่ชาวบ้านต่างพากันแอบนำหินลาวาไปเชื่อว่าจะให้โชคลาภ ทางเจ้าหน้าที่ของกรมทรัพย์ฯ จะได้เร่งเข้ามาตรวจสอบทั้งขอร้องชาวบ้านอย่าเข้าไปใกล้และอย่านำหินที่พบกลับไปเพราะเกรงจะเกิดอันตราย.
    (คอลัมน์:ข่าวประจำวัน)
    </td><td rowspan="3" width="18"> </td></tr><tr><td align="right">เดลินิวส์ [​IMG] </td></tr><tr><td align="right">22 พ.ค. 2550 <!--61.91.248.51--></td></tr></tbody></table>
     

แชร์หน้านี้

Loading...