เรียนรู้สมาธิจากการปฏิบัติ

ในห้อง 'สมเด็จโต พรหมรังสี' ตั้งกระทู้โดย KWANPAT, 16 มีนาคม 2011.

  1. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]ข้าพเจ้าเป็นผู้บุคคลหนึ่ง ที่เริ่มหันมาปฎิบัติธรรม [/FONT][FONT=&quot]จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ในเรื่องแสงสีออร่า[/FONT][FONT=&quot] โดยข้าพเจ้าเริ่มปฏิบัติสมาธิขั้นต้น เหมือนบุคคลทั่วไป[/FONT]
    [FONT=&quot]จากการศึกษาสมัยเด็กที่เราได้ศึกษามาจากโรงเรียน[/FONT][FONT=&quot]การนั่งขัดสมาธิ
    [/FONT]

    [FONT=&quot]การกำหนดลมหายใจเข้า ( พุท [/FONT]) [FONT=&quot]หายใจออก ( โธ [/FONT]) [FONT=&quot]
    แต่ข้าพเจ้ารู้สึกว่าวิธีดังกล่าว [/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่สามารถ[/FONT][FONT=&quot]ทำให้ข้าพเจ้าพัฒนา
    ได้เท่าที่ควรจากการปฏิบัติ
    [/FONT]


    [FONT=&quot]เพราะรู้สึกว่าจิตของข้าพเจ้าไม่สงบนิ่ง เพราะรู้สึกปวดเมื่อยจากการนั่งสมาธิ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ทำให้ข้าพเจ้าอยากทราบว่า [/FONT][FONT=&quot] มีวิธีใดบ้างที่สามารถปฎิบัติสมาธิได้เร็วขึ้น
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ดังนั้นข้าพเจ้าจึง ศึกษาหาความรู้ด้านสมาธิเพิ่มเติม ปรากฏว่าวิธีการ[/FONT]
    [FONT=&quot]ใช้ฝึกสมาธิ มีด้วยกันหลายรูปแบบ หลายวิธีการ[/FONT]


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]วิธีการฝึกสมาธิ ไม่จำเป็นต้องอยู่ในท่านั่งขัดสมาธิเท่านั้น [/FONT]
    [FONT=&quot] มีท่าสมาธิหลากหลายท่า ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับตนเองให้มากที่สุด
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ดังนั้นข้าพเจ้า พบว่า ท่าฝึกสมาธิไม่จำเป็นต้องอยู่ใน ท่านั่งเท่านั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]สามารถใช้ [/FONT][FONT=&quot]ท่านอนก็ได้ [/FONT][FONT=&quot] แต่กำหนดจิตให้นิ่ง รู้ตัวและตื่นตัวตลอดเวลา
    [/FONT]
    [FONT=&quot]เหมือนเรานอนหลับ [/FONT][FONT=&quot] แต่เรานั้นไม่ได้หลับ จิตกำหนดอยู่ที่ลมหายใจเท่านั้น [/FONT]
    [FONT=&quot] และรู้สึกไม่ปวดเมื่อยเหมือนอย่างที่เคย[/FONT]


    [FONT=&quot]พบว่าวิธีนี้ปฎิบัติสมาธิ ได้เร็วกว่า ข้าพเจ้าจึงหันมาใช้วิธี กำหนดลมหายใจ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]การฝึกสมาธิแบบ [/FONT][FONT=&quot]มโนยิทธิ [/FONT][FONT=&quot] รู้สึกเหมาะสมกับข้าพเจ้ามากกว่า
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ข้าพเจ้าจึงใช้วิธีดังกล่าวในการปฏิบัติสมาธิ ภายหลังรู้สึกว่าหลังจาก[/FONT]
    [FONT=&quot]การปฏิบัติจะทรงสมาธิได้ดีขึ้น[/FONT]


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]นิมิตเกี่ยวกับสี ก็พัฒนาเร็วขึ้นตามลำดับ หลังจากการปฎิบัติดังกล่าว[/FONT]
    [FONT=&quot]ข้าพเจ้าเริ่มปฏิบัติได้ดีขึ้น ข้าพเจ้าสามารถทรงสมาธิได้ดี ข้าพเจ้าจึงหันกลับ[/FONT]
    [FONT=&quot]มาปฎิบัติใน [/FONT][FONT=&quot]ท่านั่งทรงสมาธิ [/FONT] [FONT=&quot]ภายหลังอีกครั้ง [/FONT][FONT=&quot]ก็สามารถทำได้
    [/FONT]

    [FONT=&quot]และมีสมาธิได้ดีขึ้น ซึ่งข้าพเจ้าคิดว่า เป็นวิธีสำหรับผู้ปฎิบัติสมาธิมือใหม่อย่างข้าพเจ้า
    สามารถนำไปฝึกฝนได้ ผู้เขียนอาจจะไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสมาธิ
    และวิปัสนากรรมฐานด้านสมาธิชั้นสูง หรือเป็นผู้ทรงญาณในระดับสูง
    เป็นผู้ที่เริ่มจากการปฏิบัติด้วยตนเอง [/FONT]


    fairy3:z9
    เนื่องในวันสงกรานต์
    ข้าพเจ้าจะสวดมนต์ภาวนา
    ต่อพระพุทธองค์และสิ่งศักดิสิทธิ์ทั้งหลาย
    รวมถึงการสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุ
    ขออุทิศบุญกุศลให้กับพระรัตนตรัย
    และสิ่งศักดิื์์สิทธิ์ทั้งหลาย
    รวมถึงบิดามารดาครูบาอาจารย์
    สรรพสัตว์ทั้งหลาย
    รวมถึงเจ้าทุนนายบุญทั้งหลาย
    และิเพื่อนกัลยานิมิตรทุกท่าน
    ท่านทั้งหลายต้องทุกข์
    ก็ขอให้พ้นจากทุกข์
    ท่านทั้งหลายที่สุข
    ก็ขอให้สุขยิ่งยิ่งขึ้นไป
    ในทุกภพภูมิของท่านเทอญ
    อนุโมทนามิ จากการปฏิบัติธรรม
    ในครั้งนี้ของข้าพเจ้า
    <fieldset class="fieldset"> <legend>รูปขนาดเล็ก</legend> [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG]
    </fieldset>

    ขอนำบุญกุศลจากการปฏิบัติธรรม
    สวดมนต์ภาวนาและสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุ
    เมื่อคืนนี้มาฝากให้เพื่อนกัลยานิมิตรทุกท่านค่ะ

    ;aa27

    เริ่มทำการสวดมนต์ประมาณ 21.00 น.
    บทพระคาถาบูชาพระบรมสารีริกธาตุต่างๆ
    สวดทุกพระคาถา พระปริตร ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก
    พระคาถาชินบัญชร พระบารมี 30 ทัศ
    พระคาถาโพธิบาท พระคาถามงคลจักรวาฬใหญ่
    มงคลสูตร พระคาถายันต์เกราะเพชร
    บทมหากรุณาธารณีสูตรพระโพธิสัตว์กวนอิม
    พระคาถาพระเกจิอาจารย์ทั้งหลาย
    รวมถึงองค์เทพเทวดาทั้งหลาย
    กว่าจะเสร็จก็ประมาณเกือบ 24.00 น.
    และได้แผ่บุญกุศลสำหรับทุกท่าน
    ขอนำบุญกุศลมาฝากทุกท่าน
    มา ณ โอกาสวาระดิถีขึ้นปีใหม่ไทยนี้ด้วย
    ขอให้ทุกท่านคิดสิ่งใดสมพรปรารถนาทุกประการ

    [FONT=&quot]สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ
    สัพพะสังฆานุภาเวนะ พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง
    สังฆะระตะนัง ติณณัง ระตะนานัง อานุภาเวนะ
    จะตุราสีติสะสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ
    ปิฎะภัตตะยานุภาเวนะ ชินะสาวะกานุภาเวนะ
    สัพเพ เต โรคา สัพเพ เต อันตะรายา สัพเพ เต
    อุปัททะวา สัพเพ เต ทุนนิมิตตา สัพเพ เต
    อะวะมังคะลา วินัสสันตุ อายุ วัฑฒะโก
    ธะนะวัฑฒะโก สิริวัฑฒะโก ยะสะวัฑฒะโก
    วัณณะวัฑฒะโก สุขะวัฑฒะโก โหตุ สัพพะ ทาฯ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ทุกขะโรคะภะยา เวรา[/FONT][FONT=&quot] โสกา สัตตุ จุปัททะวา
    อะเนกา แนตะรายาปิ วินัสสันตุ จะ เตชะสา
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง[/FONT][FONT=&quot] โสตถิ ภาคยัง สุขัง พะลัง
    สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา
    สะตะวัสสา จะ อายู จะ ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง
    ด้วยอานุภาพแห่งธรรมทั้งปวง
    ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง
    ด้วยอานุภาพแห่ง รัตนะ คือ
    พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ
    ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมขันธ์
    แปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์ ด้วยอานุภาพ
    แห่งพระไตรปิฎก ด้วยอานุภาพ แห่งพระสาวก
    ของพระชินเจ้า ขอโรคทั้งหลายทั้งปวงของท่าน
    ขอภัยทั้งหลายทั้งปวงของท่าน
    ขออันตรายทั้งหลายทั้งปวงของท่าน
    ขออุปสรรคทั้งหลายทั้งปวงของท่าน
    ขอลางร้ายทั้งปวงของท่าน
    ขออวมงคลทั้งหลายทั้งปวงของท่าน จงพินาศไป
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ขอท่าน จงเจริญด้วยอายุ เจริญด้วยทรัพย์
    เจริญด้วยสิริ เจริญด้วยยศ
    [/FONT][FONT=&quot] เจริญด้วยกำลัง
    เจริญด้วยวรรณะ เจริญด้วยสุข ในกาลทั้งปวง
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ขอทุกข์ โรคภัย และเวรทั้งหลาย ขอความโศก
    ศัตรูแลอุปัทวะ
    [/FONT][FONT=&quot]ทั้งหลาย ทั้งอันตราย ทั้งหลาย
    เป็นอเนก จงพินาศไปด้วยเดช
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ขอความชนะ ความสำเร็จแห่งทรัพย์ ลาภ
    ความสวัสดี ความมีโชค ความสุข
    กำลัง สิริ อายุ และวรรณะ
    โภคะ ความเจริญแลเป็นผู้มียศ
    ขอความเป็นผู้มีอายุยืนร้อยปี
    และความสำเร็จกิจในความเป็นอยู่
    จงมีแก่ท่านฯ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา[/FONT]
    [FONT=&quot]สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ[/FONT]
    [FONT=&quot]ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา[/FONT]
    [FONT=&quot]สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ[/FONT]
    [FONT=&quot]ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา[/FONT]
    [FONT=&quot]สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวง
    จงรักษาท่านด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง
    ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ทุกเมื่อฯ
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวง
    จงรักษาท่านอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง
    ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ทุกเมื่อฯ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวง
    จงรักษาท่าน ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง
    ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ทุกเมื่อฯ
    [/FONT]

    fairy3catt12

    [FONT=&quot]
    [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 เมษายน 2011
  2. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]จึงนำความรู้ดังกล่าว มาเป็นประสบการณ์ ให้กับสาธุชนทั้งหลายที่สามารถปฎิบัติตามได้
    [/FONT]

    [FONT=&quot]แต่หากท่าน[/FONT][FONT=&quot]ผู้อ่านต้องการความรู้ลึกซึ้งกว่านี้ ควรจะปรึกษาพระภิกษุสงฆ์ หรือผู้ปฎิบัติที่[/FONT]
    [FONT=&quot]ได้ทรงญานในระดับสูง เป็นผู้ให้ความรู้เพิ่มเติม ให้คำแนะนำต่อไปในระดับสูงขึ้น
    [/FONT]

    [FONT=&quot] เพื่อเลือกวิธีการที่ฝึกปฏิบัติที่เหมาะสมกับตนเอง ของแต่ละ[/FONT][FONT=&quot]ตัวบุคคล จะได้ปฎิบัติได้[/FONT]
    [FONT=&quot]ถูกต้องตามแนวทางนั้นๆ ดังนั้นผู้เขียนจะขอกล่าวในระดับที่ตนเองปฎิบัติอยู่
    [/FONT]

    [FONT=&quot] หรือหาความรู้เพิ่มเติมจากที่ตัวเองได้ประสบและค้นคว้ามาประกอบในการปฎิบัติสมาธิครั้งนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]หากวิธีการของข้าพเจ้า สามารถทำให้ท่านทั้งหลาย ปฎิบัติสมาธิได้ดีขึ้น ข้าพเจ้าก็ขอโมทนาบุญ[/FONT]
    [FONT=&quot]กับสาธุชนทั้งหลายด้วย การจะปฎิบัติได้เร็วหรือช้านั้น บางครั้งก็ขึ้นอยู่กับบุญวาสนาของแต่ละ[/FONT]
    [FONT=&quot]บุคคลที่ถูก[/FONT][FONT=&quot]สั่งสมมาตั้งแต่อดีตชาติ จนถึงปัจจุบันชาติ และติดตัวมากับแต่ละบุคคลนั้นๆ
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ที่ทำการสะสมผลบุญบารมี[/FONT][FONT=&quot]มาแต่ก่อนมาช้านาน แต่หากสาธุชนทั้งหลายปฎิบัติได้ช้าก็มิเป็นไร
    [/FONT]

    [FONT=&quot] อย่าท้อแท้ใจกับสิ่งนั้น ก็ควรหมั่น[/FONT][FONT=&quot]สะสมบุญบารมีตั้งแต่ชาตินี้ภพนี้ ไปถึงภพหน้า
    [/FONT]

    [FONT=&quot]เพราะข้าพเจ้าคิดว่า สักวันหนึ่งผลบุญบารมีที่ถูกสั่งสมมา[/FONT][FONT=&quot] จะส่งผลให้ทุกท่านปฎิบัติได้ดีขึ้น
    [/FONT]

    [FONT=&quot]และอาจจะได้รู้ ได้เห็น สิ่งที่ไม่เคยเห็น และสามารถเห็นได้และค้นพบ สัจจะธรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]ความจริงด้วยตัวของท่านเอง เหมือนที่ผู้เขียน ได้เห็นแสงออร่า
    [/FONT]

    [FONT=&quot] แสงฉัพพรรณรังสีขององค์พระ[/FONT][FONT=&quot]สัมมาสัมพุทธเจ้า [/FONT] [FONT=&quot]เมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม[/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านสาธุชนทั้งหลาย ก็สามารถจะพบดวงตาเห็นธรรมได้เช่นกัน[/FONT]


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]ถึงแม้ผู้เขียน ไม่ได้ถึงระดับผู้ทรงญานชั้นสูง แต่ข้าพเจ้าก็พึงพอใจกับสิ่งที่เป็นอยู่
    [/FONT]

    [FONT=&quot]เพราะทำให้ข้าพเจ้า[/FONT][FONT=&quot]ได้ค้นพบความจริงอีกหลายเรื่อง และสามารถหาคำตอบมาพิสูจน์กันได้
    [/FONT]

    [FONT=&quot]เกี่ยวกับพุทธานุภาพขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจากการปฎิบัติ และจากทรษฎีความเป็นจริง
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ซึ่งสาธุชนทั้งหลาย ก็สามารถประจักษ์ได้[/FONT][FONT=&quot]หากทุกท่านได้หันมาปฎิบัติธรรม ท่านก็จะทราบด้วยตัว[/FONT]
    [FONT=&quot]ของท่านเอง ว่าการปฎิบัติธรรมนั้น ทำให้สามารถ รู้แจ้ง เห็นจริง
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ตามคำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2011
  3. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    การวางท่าฝึกสมาธิแบบต่าง
    การวางท่าฝึกสมาธิกระทำได้หลายรูปแบบตามความนิยมของแต่ละ สำนักปฎิบัติ จะมีวิธีการ
    ไม่เหมือนกันจะอยู่ใน ท่ายืน ท่าเดิน ท่านั่ง ท่านอน สามารถปฎิบัติทำได้ทั้งนั้น
    ขอให้ผู้ปฎิบัติ รู้สึกสบายๆ ตัว ไม่ปวดเมื่อยการฝึก การวางท่าฝึกสมาธิ ที่นิยมกัน
    มีดังนี้
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->

    1. ท่านั่งสมาธิ


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]ลักษณะการวางท่านั่งสมาธิที่กระทำกันนั้นต้อง คำนึงถึงว่านั่งอย่างไรจึงจะสนับสนุนการปฏิบัติจิตได้มากที่สุด
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ท่านเว่ยหลางได้กล่าวแก่สาวกว่า [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ให้ทำธยาน[/FONT][FONT=&quot]”[/FONT][FONT=&quot] หมายถึงให้นั่งอย่างท่านั่งของชาวอินเดีย คือ การนั่งอย่างขัดสมาธิ
    [/FONT]

    [FONT=&quot]นั่งอย่างนี้เหมือนกับมีเบาะรองไม่เจ็บกระดูก ส่วนใดที่ถูกพื้น ไม่เจ็บกระดูก กล้ามเนื้อทั้งหมดรองรับไว้
    [/FONT]

    [FONT=&quot] มีลักษณะเหมือนพีระมิดไม่มีทางล้ม เป็นลักษณะการนั่งที่มั่นคง นั่งได้ทนที่สุด
    [/FONT]

    [FONT=&quot]การหายใจเป็นไปด้วยความสะดวกสบาย การหมุนเวียนของโลหิตเป็นไปโดยสม่ำเสมอ
    [/FONT]

    [FONT=&quot]การนั่งสมาธิแบ่งออกตามลักษณะต่างกัน คือ[/FONT]




     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2011
  4. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]ท่านั่งแบบชาวอียิปต์[/FONT][FONT=&quot](EGYPTION POSTURE) [/FONT]
    [FONT=&quot]ลักษณะการวางท่านั่งแบบชาวอียิปต์ เป็นท่านั่งบนเก้าอี้ หลังตรง วางมือและเท้าตามสบาย การวางขาควรวางให้ห่างจากเก้าอี้พอประมาณ ใบหน้าหันหน้าตรงและควรวางเก้าอี้ให้ได้ระดับกับแนวราบ ท่านั่งแบบนี้ช่วยให้การหายใจสะดวกสบายมากเหมาะสำหรับคนอ้วน คนพิการ หรือ ผู้ที่ไม่ถนัดในการนั่งขัดสมาธิหรือนั่งพับเพียบ และกำหนดจิตให้อยู่ในอารมณ์ของกัมมัฏฐานเช่นนั้นตลอดไป (ดูภาพที่ [/FONT][FONT=&quot]๑[/FONT][FONT=&quot])[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2011
  5. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]ท่านั่งแบบสบาย[/FONT][FONT=&quot](EASY POSTURE) [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านั่งแบบสบาย ลักษณะที่[/FONT][FONT=&quot] ๑[/FONT][FONT=&quot]เป็นลักษณะการวางท่านั่งที่กระทำง่ายที่สุดคล้ายกับท่านั่งขัดสมาธิที่ นั่ง ไขว้ขากันคือขาขวาทับขาซ้าย
    เป็นการนั่งแบบเก็บเข่า หลังตรงใบหน้าตรงได้ระดับที่แตกต่างจากท่านั่งสมาธิเพชรคือ การวางมือ มือซ้ายทับมือขวาและนิ้วทั้งสองข้าง
    ประสานกัน ถือว่าเป็นท่านั่งสมาธิที่สมบูรณ์ นั่งได้นาน ไม่รู้สึกเมื่อย ขณะที่กำหนดลมหายใจเข้าและหายใจออกอย่าง[/FONT]
    [FONT=&quot]มีสติ อาจจะเปลี่ยน
    ไขว้ขาได้ ขวาทับซ้าย เปลี่ยนเป็นซ้ายทับขวา อาจจะเรียกท่านั่งแบบนี้ว่าเป็นท่านั่งแบบพม่า ([/FONT]
    [FONT=&quot]BURMESE POSTURE) (ดูภาพที่ ๒) [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  6. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]ท่านั่งแบบสบายลักษณะที่ [/FONT][FONT=&quot]๒[/FONT][FONT=&quot] เป็นท่านั่งที่กระทำ ง่ายที่สุด สบายที่สุดแบบหนึ่ง อยู่ในลักษณะท่านั่งไขว้ขาเล็กน้อย มือขวาท้าวคาง โค้งลำตัวตามสบาย ลืมตา หลับตาเพ่งความคิดเป็นเรื่องๆไป เปลี่ยนนิสัย เปลี่ยนความเคยชิน ไม่มีท่า ไม่มีทางใดๆแน่นอน เพียงเพ่งพิจารณาจนเห็นแจ้ง เห็นจริงในดวงจิต เห็นกฎธรรมชาติที่ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ปลงตก กำหนดจิตให้อยู่ในอารมณ์ของกรรมฐานโดยสมบูรณ์ (ดูภาพที่ ๓[/FONT][FONT=&quot]) [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2011
  7. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]ท่านั่งสมาธิแบบญี่ปุ่นและแบบดอกบัว [/FONT][FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านั่งแบบญี่ปุ่น[/FONT][FONT=&quot] ([/FONT][FONT=&quot]JAPANESE POSTURE[/FONT][FONT=&quot])[/FONT][FONT=&quot] เป็นท่านั่งคล้ายๆกับการนั่งพับเพียบเก็บ เข่าทั้งสองข้าง มือทั้งสองข้างวางบนเข่า ใบหน้าตรง ลืมตาตั้งตัวตรง เป็นท่าที่นิยมกันมากในประเทศญี่ปุ่น และในประเทศอินเดีย ตามหลักการฝึกโยคะนั้นถือว่าท่านี้เป็นท่าที่เริ่มต้นไปสู่ท่าอื่นๆ ท่านี้จะเหมาะกับบางคนที่ไม่ถนัดตามท่าที่ ๑.๑ และ ๑.๒ เป็นท่าที่นั่งบนที่นุ่ม เช่น ผ้ารองนั่ง เสื่อ หรือ พรหมและกำหนดจิตอยู่ในอารมณ์ของกรรมฐานได้โดย สมบูรณ์ (ดูภาพที่ ๔)[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.5 KB
      เปิดดู:
      220
    • 2.gif
      2.gif
      ขนาดไฟล์:
      12.7 KB
      เปิดดู:
      204
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2011
  8. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]ท่านั่งแบบดอกบัว[/FONT][FONT=&quot] ([/FONT][FONT=&quot]LOTUS POSTURE[/FONT][FONT=&quot])[/FONT][FONT=&quot] ลักษณะการวางท่านั่งสมาธิแบบดอกบัวเป็นท่าที่ดัดแปลงมา
    จากท่าฝึกโยคะปัทมาสนะ (
    [/FONT][FONT=&quot]PADMASNA) ลักษณะการวางท่า นั่งบนพื้น ตั้งตัวตรง หลับตาหรือลืมตา
    ยกเท้าขวาวางบนตักซ้าย ยกเท้าซ้ายขึ้นมาขัดบนเท้าขวา และบนตักขวา ดึงส้นเท้าขึ้นให้ชิดท้องได้มากเท่าใด
    ก็จะรู้สึกสบายได้มากเท่านั้น ท่านี้เป็นท่าที่สะดวกแก่การกำหนดลมหายใจมากที่สุด เวลาหายใจให้หายใจสม่ำเสมอ
    ให้จิตสงบอยู่กับลมหายใจอย่างเดียว กำหนดให้สงบนิ่ง รวมอยู่ในดวงจิตอย่างเดียวเท่านั้นจนเกิดอารมณ์ของกรรมฐานได้ต่อไป (ดูภาพที่ ๕)[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 3.jpg
      3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7.5 KB
      เปิดดู:
      336
    • 4.jpg
      4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      8.3 KB
      เปิดดู:
      218
    • 5.jpg
      5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      6.8 KB
      เปิดดู:
      221
    • 6.jpg
      6.jpg
      ขนาดไฟล์:
      10.1 KB
      เปิดดู:
      125
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2011
  9. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]ท่านั่งขัดสมาธิเพชร[/FONT][FONT=&quot] เป็นท่านั่งสมาธิที่นิยมปฏิบัติกันมากที่สุดในประเทศไทย
    [/FONT]
    [FONT=&quot]หรือเรียกว่า “ท่านั่งคู่บัลลัง ค์” หรือ “ท่านั่งพับพนัญ เชิง” คือ เอาขาซ้ายวางลงข้างล่าง เอาขาขวาวางทับข้างบน เอามือซ้ายวางลงข้างล่างบนตัก เอามือขวาวางซ้อนทับลงไปให้หัวแม่มือชนหัวแม่มือ อย่างเช่น พระพุทธรูปปางสมาธิ ตั้งกายให้ตรง ตั้งใบหน้าตรง ดำรงสติให้มั่น ถ้าตรงเกินไปรู้สึกไม่สบาย[/FONT]
    [FONT=&quot]ก็ผ่อนหาผ่อนจนรู้สึกสบายขนาดไหนก็ยึดเอาขนาดนั้น ไม่ต้องเกร็งกล้ามเนื้อ หลับตาพอปิดสนิท
    [/FONT]
    [FONT=&quot]หุบปากปล่อยอารมณ์ว่างทั้งหมด เพื่อเป็นการรวมจิตเอาไว้ไม่ให้ฟุ้งซ่านออกไปทางอื่น ท่านั่งแบบนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]มีลักษณะเหมือนรูปพีระมิด มีฐานเป็นสามเหลี่ยม เมื่อนั่งได้ที่แล้วก็ลองกำหนดลมหายใจเข้าออก
    [/FONT]
    [FONT=&quot]หรือกำหนดพร้อมกับคำบริกรรมภาวนา พุทโธ ยุบหนอ พองหนอ สัมมา อะระหัง แล้วแต่ถนัด
    [/FONT]
    [FONT=&quot]กำหนดอยู่ในลักษณะท่านั่งอย่างมีสติเช่นนี้ตลอดไปจนพบกับความสงบจิตในขณะ นั้น อยู่ในอารมณ์ของกรรมฐานต่อไป (ดูภาพที่ ๖) [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      8.1 KB
      เปิดดู:
      432
    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.5 KB
      เปิดดู:
      266
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2011
  10. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]ท่ายืนสมาธิ[/FONT]ลักษณะการวางท่ายืนสมาธิ ท่ายืนอาจจะเปลี่ยนมาจากท่านั่ง ท่าเดินหรือท่านอนก็ได้ เพื่อเปลี่ยนอริยาบถในการฝึกสมาธิ
    การวางมือหรือการวางท่าทางก็อยู่ในลักษณะเดียวกับแบบเริ่มต้นเดินจงกรม คือเอามือซ้ายวางลงที่ท้องน้อย เอามือขวาทับยืนให้ตรง
    พอสบายกำหนดลมหายใจที่ปลายจมูก บริกรรมภาวนา ถ้าหลับตาจะมีอาการโยกโคลงให้ลืมตาทอดสายตาออกไปข้างหน้าประมาณ
    ๔ ศอก
    กำหนดคำบริกรรมภาวนาเช่นเดียวกับท่านั่ง เช่น พุธโธๆๆๆ ขณะที่บริกรรมภาวนานั้น ให้กำหนดจิตจดจ่ออยู่กับคำบริกรรมตลอดเวลา
    กำหนดเป็นสิ่งเดียว รูปเดียว อย่างเดียว ในการรับรู้อารมณ์ จนพบว่าจิตเข้าสภาวะสงบไม่หนีสติไปสู่สติอารมณ์ตามธรรมชาติ
    ดวงจิตสงบสว่างมีอำนาจเหนือจิตเกิดขึ้นในอารมณ์สมถกรรมฐานและวิปัสสนา กรรมฐานได้ (ดูภาพที่ ๗)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 3.jpg
      3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7.8 KB
      เปิดดู:
      206
    • 4.jpg
      4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      13.9 KB
      เปิดดู:
      206
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2011
  11. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]ท่าเดินจงกรม[/FONT][FONT=&quot] ท่าเดินสมาธิมักเรียกกันโดยทั่วไปว่า “เดิน จงกรม” การฝึกสมาธิในลักษณะการวางท่าเดินนั้นเป็นการเปลี่ยนอิริยาบถ
    จากท่าอื่นๆมา เช่นเปลี่ยนจากการนั่ง มายืน และ เดิน การเดินจงกรมนั้นก็แล้วแต่สถานที่ ถ้าสถานที่ยาวก็เดินไประยะยาว สถานที่สั้น
    ก็เดินระยะสั้น โดยทั่วไปใช้ระยะทางเดินประมาณ ๒๕ ก้าว ระยะทางยาวเกินไปไม่ดี ระยะทางสั้นเกินไปก็เวียนศรีษะ การเดินต้อง
    กำหนดระยะสายตาที่ต้องมองไปข้างหน้าเป็นระยะห่าง ๔ ศอก และต้องกำหนดระยะห่างให้พอเหมาะ กับความรู้สึกของตน
    และบริกรรมพุทโธ ตามจังหวะการก้าวของเท้าไปเรื่อยๆจนจิตเป็นสมาธิ (ดูภาพที่ ๘)
    [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 5.jpg
      5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.6 KB
      เปิดดู:
      205
    • 6.jpg
      6.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11 KB
      เปิดดู:
      199
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2011
  12. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]ท่านอนสมาธิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นท่าที่ใช้ต่อเนื่องจากการนั่ง การยืน และการเดิน เป็นลักษณะที่ต่อเนื่องกัน
    [/FONT]
    [FONT=&quot]โดยสมบูรณ์ มิได้กำหนดว่าในการสมาธิจิตครั้งหนึ่ง จะต้องกระทำเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งแต่[/FONT]
    [FONT=&quot]อย่างเดียว อาจจะกระทำต่อเนื่องกันไปจนกว่าจิตจะเจริญสมาธิ และ เจริญปัญญา ซึ่งจะใช้กี่ท่า[/FONT]
    [FONT=&quot] ใช้เวลาเท่าใดก็สุดแต่จิตของแต่ละบุคคล การวางท่าฝึกแบบท่านอน ให้นอนตะแคงขวา
    เอามือขวาซ้อนเข้าไปที่แก้มขวา แล้วก็เอามือซ้ายวางราบไปตามตัว ขาเหยียดไปให้ตรง
    ถ้าหากเหยียดตรงไปมากอาจจะรู้สึกไม่สบาย ก็ขยับคู้เข้ามานิดหน่อย พอเกิดความสบาย
    และสามารถจะอยู่ในลักษณะเช่นนั้นต่อไปโดยจิตบริกรรมภาวนาจนเจริญสมาธิและ เจริญวิปัสสนา ( ดูภาพที่ ๙)
    [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 7.jpg
      7.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.6 KB
      เปิดดู:
      204
    • 8.jpg
      8.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7.4 KB
      เปิดดู:
      189
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2011
  13. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]การกำหนดลมหายใจเข้าและออกด้วยสติ[/FONT][FONT=&quot]
    นอกจากท่า ทางในการทำสมาธิแล้ว ลมหายใจก็เป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้จิตเข้าสู่อารมณ์สมถะได้ช้า
    หรือเร็ว ถ้าลมหายใจละเอียดลมหายใจยาว อารมณ์จะดี ร่างกายปกติ การเจริญสมถะ
    และ การเจริญวิปัสสนาก็พัฒนาไดดี การนำลมหายใจเข้า หายใจออก ให้ยาว
    ต้องใช้สตินำเข้าและนำออก ( ดูภาพที่ ๑๐ )
    [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.6 KB
      เปิดดู:
      137
    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      17.8 KB
      เปิดดู:
      150
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 มีนาคม 2011
  14. บัวล้านนา

    บัวล้านนา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    93
    ค่าพลัง:
    +436
    ขอบคุณครับ...........สำหรับความรู้ดีดี
     
  15. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]การปฏิบัติสมาธิเบื้องต้น[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]มีด้วยกันหลากหลายรูปวิธี แล้วแต่ผู้ที่จะสามารถนำไปใช้ปฎิบัติเหมาะสมกับตัวเองแต่ละบุคคล
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ดังนั้นผู้เขียน[/FONT][FONT=&quot] จะกล่าวถึงการปฏิบัติสมาธิเบื้องต้น[/FONT][FONT=&quot] ที่ตนเองเคยปฏิบัติและศึกษา[/FONT]
    [FONT=&quot]ค้นคว้ามาประยุกต์ใช้กับตนเอง[/FONT][FONT=&quot] ซึ่งสาธุชนทั้งหลายสามารถเลือก[/FONT]
    [FONT=&quot]ปฎิบัติได้ตามความเหมาะสมของตัวเอง[/FONT][FONT=&quot] เพื่อค้นพบสัจจะธรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]ด้วยตัวของท่านเอง[/FONT][FONT=&quot]จากการปฏิบัติสมาธิเบื้องต้น

    [/FONT]
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> การฝึกสมาธิเบื้องต้น
    สมาธิ คือความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์ สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง
    เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนด เอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวัน อย่างเป็นสุข
    ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัมปชัญญะและปัญญา อันเป็นเรื่อง ไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่ายๆ
    ดังวิธีปฏิบัติ ที่ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงพ่อวัดปากน้ำ ภาษีเจริญได้เมตตาสั่งสอนไว้ ดังนี้


    . กราบบูชาพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้นุ่มนวล ไว้เป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานศีลห้า
    หรือศีลแปดเพื่อย้ำความมั่นคงในคุณธรรมของตนเอง

    . คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบสบายๆ ระลึกถึงความดี ที่ได้กระทำแล้วในวันนี้ ในอดีต
    และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนราวกับว่าร่างกายทั้งหมด ประกอบขึ้นด้วยธาตุแห่งคุณงามความดี ล้วนๆ

    . นั่งขัดสมาธิ เท้าขวาทับเท้าซ้าย มือขวาทับมือซ้าย นิ้วชี้ขวาจรดหัวแม่มือซ้าย นั่งให้อยู่ในจังหวะพอดี
    ไม่ฝืนร่างกายมากจนเกินไป ไม่ถึงกับเกร็ง แต่อย่าให้หลัง โค้งงอ หลับตาพอสบายคล้ายกับกำลังพักผ่อน
    ไม่บีบกล้ามเนื้อตา หรือว่าขมวดคิ้ว แล้วตั้งใจมั่น วางอารมณ์สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจ
    ว่ากำลังจะเข้าไป สู่ภาวะแห่งความสงบสบายอย่างยิ่ง

    . นึกกำหนดนิมิต เป็นดวงแก้วกลมใส ขนาดเท่าแก้วตาดำ ใสบริสุทธิ์ ปราศจากราคีหรือรอยตำหนิใดๆ
    ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดังประกายของดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้ เรียกว่า บริกรรมนิมิต นึกสบายๆ นึกเหมือนดวงแก้ว



    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]-->เรียกว่า บริกรรมนิมิต นึกสบายๆ นึกเหมือนดวงแก้ว นั้นมา นิ่งสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลางกาย ฐาน ที่ เหนือสะดือสองนิ้วมือ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  16. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    นึกไปภาวนาไปอย่างนุ่มนวล เป็นพุทธานุสติว่า สัมมา อะระหัง หรือค่อยๆ น้อมนึกดวงแก้ว
    กลมใสให้ค่อยๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตาม แนวฐาน โดยเริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่หนึ่งเป็นต้นไป
    น้อมด้วย การนึกอย่างสบายๆ ใจเย็นๆ พร้อมๆ กับคำภาวนา
    อนึ่ง เมื่อนิมิตดวงใส
    และกลมสนิทปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ให้วาง อารมณ์สบายๆ กับนิมิตนั้น
    จนเหมือนกับว่าดวงนิมิตเป็น ส่วนหนึ่งของอารมณ์ หากดวงนิมิตนั้นอันตรธานหายไป
    ก็ไม่ต้องนึกเสียดาย ให้วางอารมณ์สบายแล้วนึกนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า
    หรือ เมื่อนิมิตนั้นไปปรากฏที่อื่น ที่มิใช่ศูนย์กลางกาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิตเข้ามาอย่างค่อยเป็นค่อยไป
    ไม่มีการบังคับ และเมื่อนิมิตมาหยุดสนิท


    ณ ศูนย์กลางกาย ให้ วางสติลงไปยังจุดศูนย์กลางของดวงนิมิต
    ด้วยความรู้สึกคล้ายมีดวงดาวดวงเล็กๆ อีกดวงหนึ่ง
    ซ้อนอยู่ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้ว สนใจเอาใจใส่แต่ดวงเล็กๆ ตรงกลางนั้นไปเรื่อยๆ
    ใจจะปรับจนหยุดได้ถูกส่วนแล้ว จากนั้นทุกอย่างจะค่อยๆปรากฏให้เห็นได้ด้วยตนเอง

    เป็นภาวะของดวงกลม ที่ทั้งใสทั้งสว่างผุดซ้อน ขึ้นมาจากกึ่งกลางดวงนิมิต
    ตรงที่เราเอาใจใส่อย่าง สม่ำเสมอ
    ดวงนี้เรียกว่า ดวงธรรม หรือ ดวงปฐมมรรค
    อันเป็นประตูเบื้องต้น ที่จะเปิด ไปสู่หนทางแห่งมรรคผลนิพพาน การระลึกนึกถึงนิมิต
    หรือ ดวงปฐมมรรค สามารถทำได้ในทุกแห่งทุกที่ทุกอิริยาบถ เพราะ ดวงธรรมนี้
    คือที่พึ่งที่ระลึกถึงอันประเสริฐสุดของมนุษย์

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  17. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ข้อควรแนะนำ

    คือ ต้องทำให้สม่ำเสมอเป็นประจำ ทำเรื่อยๆ ทำอย่าง สบายๆ
    ไม่เร่ง ไม่บังคับ ทำได้แค่ไหน ให้พอใจแค่นั้น
    อัน จะเป็นเครื่องสกัดกั้นมิให้เกิดความอยากมากจนเกินไป
    จนถึงกับทำให้ใจต้องสูญเสียความเป็น กลาง
    และเมื่อการปฏิบัติบังเกิดผลแล้ว ให้หมั่น ตรึกระลึก
    นึกถึงอยู่เสมอ
    จนกระทั่งดวงปฐมมรรค กลายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับลมหายใจ
    หรือนึกเมื่อใดเป็นเห็นได้ทุกที อย่างนี้แล้ว ผลแห่งสมาธิจะ
    ทำให้ชีวิตดำรงอยู่บนเส้น ทางแห่งความสุข ความสำเร็จ
    และความไม่ประมาทได้ตลอดไป
    ทั้งยัง จะทำ ให้สมาธิละเอียดอ่อนก้าวหน้า

    ไปเรื่อยๆ ได้อีกด้วย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      3.3 KB
      เปิดดู:
      1,407
    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      4.4 KB
      เปิดดู:
      1,359
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  18. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ข้อควรระวัง

    <table cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td style="vertical-align: top;" width="412" height="184"> <table style="width: 412px; height: 127px;" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td>
    . อย่า ใช้กำลัง คือไม่ใช้กำลังใดๆ ทั้งสิ้น เช่นไม่บีบ กล้ามเนื้อตา เพื่อจะให้เห็นนิมิตเร็วๆ ไม่เกร็งแขน ไม่ เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ไม่เกร็งตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังตรง ส่วนไหนของร่างกายก็ตาม จะทำให้จิตเคลื่อนจาก ศูนย์กลางกายไปสู่จุดนั้น

    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>. อย่าอยากเห็น คือทำใจให้เป็นกลาง ประคองสติ มิให้ เผลอจากบริกรรมภาวนาและบริกรรมนิมิต
    ส่วนจะเห็นนิมิต เมื่อใดนั้น อย่ากังวล ถ้าถึงเวลาแล้วย่อมเห็นเอง การ บังเกิดของดวงนิมิตนั้น
    อุปมาเสมือนการขึ้นและตก ของดวงอาทิตย์ เราไม่อาจจะเร่งเวลาได้


    . อย่ากังวล ถึงการกำหนดลมหายใจเข้าออก เพราะการ ฝึกสมาธิเจริญภาวนาวิชชาธรรมกาย
    อาศัยการน้อมนึก อาโลก-กสิณ คือ กสิณความสว่างเป็นบาทเบื้องต้น เมื่อ เกิดนิมิตเป็นดวงสว่าง
    แล้วค่อยเจริญวิปัสสนาในภายหลัง จึงไม่มีความจำเป็นต้องกำหนดลมหายใจเข้าออก แต่ประการใด


    . เมื่อเลิกจากนั่งสมาธิแล้ว ให้ตั้งใจไว้ที่ศูนย์ กลางกายที่เดียว ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใดก็ตาม
    เช่น ยืนก็ดี เดินก็ดี นอนก็ดี หรือนั่งก็ดี อย่าย้าย ฐานที่ตั้งจิตไปไว้ที่อื่นเป็นอันขาด
    ให้ตั้งใจ บริกรรมภาวนา พร้อมกับนึกถึงบริกรรมนิมิตเป็นดวงแก้ว ใสควบ คู่กันตลอดไป


    . นิมิตต่างๆ ที่เกิดขึ้นจะต้องน้อมไปตั้งไว้ที่ ศูนย์กลางกายทั้งหมด ถ้านิมิตที่เกิดขึ้นแล้วหายไป
    ก็ไม่ต้องตามหา ให้ภาวนาประคองใจต่อไปตามปกติ ใน ที่สุดเมื่อจิตสงบ นิมิตย่อมปรากฏขึ้นใหม่อีก
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  19. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    พิธีปลูกศรัทธาเบื้องต้น
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]โบราณาจารย์ท่านมีพิธีปลูกจิตศรัทธาเบื้องต้น ก่อนการเรียนพระกัมมัฏฐาน คือ จัดยกครู[/FONT]

    [FONT=&quot]เทียนขี้ผึ้งห้าคู่ ดอกไม้ขาวห้าคู่ เรียกว่าขันธ์ห้า[/FONT]
    [FONT=&quot]เทียนขี้ผึ้งแปดคู่ ดอกไม้ขาวแปดคู่ เรียกว่าขันธ์แปด[/FONT]
    [FONT=&quot]เทียนขี้ผึ้งคู่หนึ่ง หนักเล่มละ[/FONT][FONT=&quot] ๑[/FONT][FONT=&quot] บาท ดอกไม้ขาว[/FONT][FONT=&quot]เท่ากับเทียน[/FONT]
    [FONT=&quot]
    แล้วอาราธนา พระกัมมัฏฐานทั้ง [/FONT]
    [FONT=&quot] ๔๐[/FONT][FONT=&quot] ทัศ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ให้เข้ามาอยู่ในขันธสันดานของข้าพเจ้าในกาลบัดนี้
    [/FONT]
    [FONT=&quot]หลังจากนั้นจึงเริ่มเรียนพระกัมมัฏฐานเป็นลำดับค่อไป[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  20. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    การสอนบริกรรมภาวนา

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]เมื่อทำพิธีปลูกศรัทธาเบื้องต้นแล้ว จึงเข้าไปหา พระอาจารย์ที่ชำนาญพระกัมมัฏฐานนั้นๆ
    [/FONT]

    [FONT=&quot] ซึ่งมีด้วยกันหลายแบบ บางท่านชำนาญฝ่ายบริกรรม สัมมาอะระหัง
    ท่านก็สอนให้บริกรรมภาวนาว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“ สัมมาอะระหัง ”
    ท่านก็สอนให้บริกรรมภาวนา “ สัมมาอะระหัง ๆ ๆ ”
    ให้กำหนดเป็น[/FONT]
    [FONT=&quot]ดวงแก้วใสๆ อยู่เหนือสะดือขึ้นไปประมาณ ๒ นิ้ว
    [/FONT]



    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]แล้วเอาจิตไปตั้งไว้ตรงนั้น
    ภาวนาไปเรื่อยๆ อย่าให้จิตหนีไปจากดวงแก้ว
    หมายความว่า เอาดวงแก้วเป็นที่ตั้งของจิตก็แล้วกัน[/FONT]

    [FONT=&quot]เมื่อได้เข้าไปหาพระอาจารย์ท่านที่ชำนาญ
    ในด้านการภาวนา [/FONT]
    [FONT=&quot]“ ยุบหนอ พองหนอ ”
    ท่านก็จะสอนให้ภาวนาว่า “ ยุบหนอ พองหนอๆ ”

    หรือให้กำหนดเอาจิตไปไว้ที่อริยาบถ
    ก้าวยกเท้าขึ้นว่า ยกหนอ เมื่อเหยียบลงก็ว่า เหยียบหนอ
    หรือพิจารณาให้เห็นความเกิดและความดับ
    ทุกอิริยาทถอย่างนี้ เรื่อยไปเป็นอารมณ์[/FONT]

    [FONT=&quot]
    เมื่อได้เข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านอิทธิฤทธิ์
    ท่านก็สอนคาถาภาวนาให้ว่า นะ มะ พะ ทะให้เอาจิตเป็นอารมณ์อันหนึ่ง
    แล้วจิตจะพาไปเห็น เทพ สวรรค์ นรก พระอินทร์ พระพรหม ต่างๆ นานา
    หลายอย่าง เพลิดเพลินอยู่กับอารมณ์นั้นๆ [/FONT]

    [FONT=&quot]
    เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ท่านที่ชำนาญในด้านการภาวนา [/FONT]
    [FONT=&quot] “ พุทโธ ”
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านก็จะสอนให้บริกรรมว่า “ พุทโธ ๆๆ ” แล้วให้เอาจิตไปตั้งมั่น
    อยู่ในคำบริกรรมนั้น [/FONT]
    [FONT=&quot]จนชำนาญเต็มที่แล้ว แล้วก็จะสอน
    พิจารณาถึง “ พุทโธ ” กับผู้ว่าพุทโธ เมื่อพิจารณา[/FONT]

    [FONT=&quot]เห็นเป็นคนละอันแล้ว พึงจับเอาผู้ว่าพุทโธนั้น
    ส่วนพุทโธนั้นจะหายไป เหลือแต่ผู้ว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]พุทโธอย่างเดียว
    แล้วให้ยึดเอาผู้ว่าพุทโธนั้นเป็นหลัก[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7.2 KB
      เปิดดู:
      142
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011

แชร์หน้านี้

Loading...