พระวัชรสัตว์ สำริด ศิลปะเขมรที่พบในประเทศไทย สมัยบายน ครึ่งแรกพุทธศตวรรษที่ 18

ในห้อง 'ประสบการณ์ เรื่องเล่า' ตั้งกระทู้โดย vacharaphol, 14 มิถุนายน 2009.

  1. vacharaphol

    vacharaphol เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    8,849
    ค่าพลัง:
    +27,175
    พระวัชรสัตว์ สำริด ศิลปะเขมรที่พบในประเทศไทย สมัยบายน ครึ่งแรกพุทธศตวรรษที่ 18



    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>พระวัชรสัตว์ ประทับอยู่ส่วนยอดแท่นสำริด ที่ฐานมีชั้นครุฑแบกรองรับ เบื้องหลังมีประภามณฑล เหนือเศียร มีพระพุทธรูปนาคปรกประทับอยู่ ด้านข้างมีเทวสตรีฟ้อนรำ น่าจะหมายถึงพระอาทิพุทธเจ้า พระวัชรสัตว์ เป็นรูปเคารพในศาสนาพุทธ มหายาน นิกายวัชรยาน อาจถือเป็นภาคหนึ่ง

    ของพระวัชราธรหรือพระอาทิพุทธเจ้า หรืออาจเป็นพระธยานิพุทธ ที่เป็นประธานของพระธยานิพุทธทั้ง 6 องค์ มักทรงเครื่องอย่างกษัตริย์ สวมศิราภรณ์ และพระหัตถ์ขวาถือวัชระ ส่วนพระหัตถ์ซ้ายถือกระดิ่ง ทั้งรูปแบบและคติการสร้างจัดอยู่ในศิลปะสมัยบายน ซึ่งศาสนาพุทธหมายานนิกายมหายานรุ่งเรืองอย่างมาก
    ˹ѧ
     

แชร์หน้านี้

Loading...