ทริปชัยมงคลสถาน ก้าวตามรอยพระบาท เศรษฐกิจพอเพียง 20,21,20 กค. 2550

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย kananun, 17 กรกฎาคม 2007.

  1. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    <CENTER><TABLE width=620 border=0><TBODY><TR><TD>
    แบบนี้เป็นอุปกรณ์พกพาในเป้...แล้วนำออกมาติดกับจักรยาน









    [​IMG]

    IN 10 MINUTI OLTRE I SOLITI CONFINI CON LA TUA MOUNTAIN-BIKE...ED UNO ZAINETTO.
    IN 10 MINUTES BEYOND THE USUAL BOUNDS WITH YOUR MOUNTAIN-BIKE...AND A SMALL BACK-PACK.
    </TD><TD>[​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    <MARQUEE width=620 bgColor=#ffffff border="0">CON UNA NORMALE MOUNTAIN BIKE.....TUTTO IN UNO ZAINETTO.....</MARQUEE>
    [​IMG][​IMG]
    PERFORMANCES VIDEOTAPE NEW......CLICK HERE

    <CENTER><TABLE width=620 border=0><TBODY><TR><TD align=middle><MAP name=FPMap1><AREA shape=POLY target=_blank coords=101,59,128,55,129,73,104,76,97,66 href="OF_rullo1.htm"><AREA shape=POLY target=_blank coords=80,83,97,87,98,100,97,115,86,116,75,98,72,86 href="OF_attacchi_posteriori.htm"><AREA shape=POLY target=_blank coords=154,60,171,62,172,83,159,88,144,72,145,62,157,58,160,58 href="413_morsetto_ant.jpg"></MAP>[​IMG]
    Attacchi fissi
    Fixed attachment clamps
    </TD><TD align=middle></TD><TD align=middle><MAP name=FPMap0><AREA shape=POLY target=_blank coords=103,48,67,43,54,59,54,91,46,105,56,128,79,135,114,125,117,96,110,94,106,47 href="Pezzi_sbk.htm"></MAP>[​IMG]
    Tutto in uno zainetto!
    Everything in a small back-pack!
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width=620 border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]</TD><TD align=middle>[​IMG]

    </TD><TD align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width=620 border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]
    Propulsione ad elica
    Propeller
    </TD><TD align=middle>[​IMG]</TD><TD align=middle><MAP name=FPMap2><AREA shape=RECT target=_blank coords=2,8,249,188 href="OF_Pompa.htm"></MAP>[​IMG]
    Gonfiaggio facile e veloce
    Easy and quick float inflation
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>


    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2007
  2. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%" colSpan=4>Pumpa Bike
    </TD></TR><TR><TD class=detailimage align=middle width="100%" colSpan=4>[​IMG] </TD></TR><TR><TD width="100%" colSpan=4>
    <TR><TD vAlign=top colSpan=3 height=17><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><!--DWLayoutTable--><TBODY><TR><TD vAlign=top width=484 height=17>[FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]Pumpa Water Bike

    [/FONT][​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=3 height=554><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><!--DWLayoutTable--><TBODY><TR><TD vAlign=top colSpan=4 height=23>Out of the ordinary!!

    </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=250 height=110>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle width=250>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle width=250>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle width=252>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=4 height=798>[FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]The PumpaBike[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    Bike Build # 3
    Human Powered Amphibious Vehicle


    July 13 in a contest against a Canadian Group

    Added Parking Brake

    [​IMG]

    <TABLE width=800 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2 height=69>I added the parking brake because the amphibike is HUGE and takes up a good deal of my garage. So whenever I work on something I have to remove the bike, and it had a tendency to roll away. One bungy attached to the brake leveler and we have a parking brake!

    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>I also rode the bike to the Home Depot [twice now] (1.1 - 1.2 miles, 1.7 km, each way). It was a lot of fun. The bike is really efficient at rolling, a little hard to start from a dead stop, but on a slight uphill, I want the gear shift to work, and on a slight downhill, forget about it, your legs don't spin that fast. It takes a compact car parking space and looks so cool, I'm going to ride it there again to take a picture of it :)</TD></TR></TBODY></TABLE>


    Updated pictures from day of sea launch

    [​IMG]
    HiRes

    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>Notes From the Build :
    Started 12 noon on Sunday (did tool training from 10 - 11:30, then lunch, then build) KD, Barb, Howard, and Papa
    2pm Papa drops out (bad hip)
    around 3pm Jim Shows up
    4:30 Bob and Rob call up and show up sometime later
    5 pm Howard has to leave. Bike Boat need chain hooked up and steering wheel rod. Want brakes, gear shift, prop
    Bob starts filming, Rob helps with mechanical engineering problems
    8 PM it gets dark, we have working drive and a 2x2 (same as above) hooked on by pipe clamps, and a lantern duct taped on which we ride around the neighborhood
    11:20 Sunday we get together to finished and take the bike to the bay (promise people to be there at 2 PM)
    hook up brakes, gear shift, re-enforce frame, and make prop drive
    1:40 wait for wife to get back with picnic lunch for beach. Ride bike around neighborhood some more.
    2:15 realize that we still need bathing suits, towels, beach stuff after food arrive
    2:30 leave for beach
    3:00 PM arrive at beach wait for parents before maiden voyage
    3:15 parents arrive LAUNCH! success.
    Eat big, delicious lunch between 2 and third launches
    launch 2 more times (stay out 10 minutes on last one fighting a pretty strong head wind)
    Eat desert
    ride bike a little over 1km round trip on land for fun
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    Hires
    </TD><TD>The Builders (plus the Video Dude, and a couple kids to make the picture cuter)
    [​IMG]Hires
    Left to Right (back row)
    Bob - video dude, Barb - all things involving bolts and screws (whole build), Howard - everything (had to leave early first day), KD - design, cutting, all welding (whole build), Rob - metal and mechanical engineering (late first day, all day second day), Jim - misc. tasks including all of rudder(late first day, all day second day)
    Missing Papa - helped with boat (finished early first day)
    Front Row - two cute kids
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    [​IMG]Hires
    Notes : much to my chagrin, she bobs like a cork. I had to actively stay center or she would roll over any direction I wanted to. Also the white foam we bought at home depot that advertises cleans up with water until set, then water tight, dissolves in salt water (slowly) so we did take on water, slowly. We got a prop set up, but did not have time to mount it.​
    The Video

    [​IMG]

    MPeg 1 (16.5 Megs) Real Video (3 megs)
    The Plan

    Update we may not be able to get any donor boat so here is a quick sketch of a quick boat out of plywood, 2x2 and 2x4 wood
    [​IMG]

    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>The idea is to cut less than 2 sheets of plywood up and build a boat. The plywood is screwed into either a 2x2 (almost everywhere) or a 2x4 (where the bow is). Then the seems, on the inside, where the edges of the wood touch the plywood get spray foamed (water proof insulation / floatation). It would be good to spray the outside with water proofing (paint, poly urethane, etc.) but the boat should not be in the water long enough to be a big problem. The bicycle frame would be build to enclose this, and attach to it by straps, screws, etc.. At 2' tall x 2 wide x 6' long it would displace enough water to float just under a 1,000 pounds. Current thoughts, width same as my recliner chair, 2 rear wheels so that the axles would be under or through the rear of the boat if they were joined, right rear wheel drive, front steer on land, paddle steering in water, enough floatation materials tied on to prevent polluting bottom of lake.</TD></TR></TBODY></TABLE>

    Last Sketch Prior to Build
    [​IMG]rough 'show the idea' unrealistic sketch​
    The Reality


    <TABLE width=800 border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>Sorry I couldn't wait, I was taking a picture of the bike and looked at the front derailer of the original bike and said 'Aha that would be a perfect chain guide', so I cut off the old one and welded the shwin bike derailer into place.
    Hi res bike pic</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>It is ready for paddle power see (we think :), we did ride it around the block a little (the block the inner peddles are sitting on needs to be fasted to the bottom it turns out). Unfortunately it got dark as we were finishing so we could try it out in water. Two of our key people didn't show up till 5pm so we could not build the boat and the bike at the same time. They thought is was Saturday and the build was the next day, and then didn't check phone messages till 4pm! We failed the 6 hour challenge, but it is really cool and we are now on the JYW 10 + 1 challenge giving us 2.5 more hours next Sunday! These pictures are not great, I took most of them after cleanup on the build. I hope to get some great shots as we get ready to hit the water. A lot of fun, a lot of work.
    Bike dimensions 28" x 16" x 56" to the 16 x 16 - 45 degree bow
    71 cm x 41 cm x 143 cm = 420,906 cm cubed + 60,129 cm cubed displacement = 480 liters (1000 cubic cm / liter) = 480 kg displacement = 1056 pounds of displacement. I weight 220 lb. with clothes, the boat weighs a little over 30 lb. the bikes another 30 lb. stuff I forgot, call it 300 lb. So next Sunday we see what happens!
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [SIZE=-1]Update Robert was inspired by this page and built his own. His plan, his build.[/SIZE]

    Original Challenge Page

    Comments which may be added to this page : Email KD
     
  4. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff colSpan=2 height=1><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=540 border=0><TBODY><TR><TD align=middle background=http://static.cnhi.zope.net/sites/images/slideshowbacklg.gif>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff colSpan=2 height=3><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=540 border=0><TBODY><TR><TD>
    Beverly : Richard Marino of Beverly makes his way in front of Dane Street beach in Beverly with his water bike. The kit, which coast around $1100, can be stored in a backpack. Wednesday, August 23, 2006
    Paul Bilodeau / Paul Bilodeau/Salem News.
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>


    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]
     
  5. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    トランポフォイル
    TRAMPOFOIL

    [​IMG] 水上三輪車というか、人力水中翼ボートというか。
    見たまんまの代物です。はい。
    夏向けってことでココはひとつ。

    水中翼船なので、スタート時に
    5ノットの速度が無いと進めません。
    もちろん絶えず6ノットで進んでないと
    失速します!

    最大航続距離11kmって書いてありました。
    1時間で達成だそうですが、この運動を
    1時間続けるのってちょっとカンベン...

    このレポートのPDFを見て知りました。
    http://syra.aero.kyushu-u.ac.jp/...
    このレポートにはTRAMPOFOILの
    詳細な解説があったりします。
    ほかにもヘンな水上乗り物の解説もあります。
    またこのレポートの著者自身、
    すげーカッコいい水上モノを製作しています。
    興味をもった方はぜひ。
     
  6. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    <CENTER><TABLE width=620 border=0><TBODY><TR><TD>
    แบบนี้เป็นอุปกรณ์พกพาในเป้...แล้วนำออกมาติดกับจักรยาน









    [​IMG]

    IN 10 MINUTI OLTRE I SOLITI CONFINI CON LA TUA MOUNTAIN-BIKE...ED UNO ZAINETTO.
    IN 10 MINUTES BEYOND THE USUAL BOUNDS WITH YOUR MOUNTAIN-BIKE...AND A SMALL BACK-PACK.
    </TD><TD>[​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    <MARQUEE width=620 bgColor=#ffffff border="0">CON UNA NORMALE MOUNTAIN BIKE.....TUTTO IN UNO ZAINETTO.....</MARQUEE>
    [​IMG][​IMG]
    PERFORMANCES VIDEOTAPE NEW......CLICK HERE

    <CENTER><TABLE width=620 border=0><TBODY><TR><TD align=middle><MAP name=FPMap1><AREA shape=POLY target=_blank coords=101,59,128,55,129,73,104,76,97,66 href="OF_rullo1.htm"><AREA shape=POLY target=_blank coords=80,83,97,87,98,100,97,115,86,116,75,98,72,86 href="OF_attacchi_posteriori.htm"><AREA shape=POLY target=_blank coords=154,60,171,62,172,83,159,88,144,72,145,62,157,58,160,58 href="413_morsetto_ant.jpg"></MAP>[​IMG]
    Attacchi fissi
    Fixed attachment clamps
    </TD><TD align=middle></TD><TD align=middle><MAP name=FPMap0><AREA shape=POLY target=_blank coords=103,48,67,43,54,59,54,91,46,105,56,128,79,135,114,125,117,96,110,94,106,47 href="Pezzi_sbk.htm"></MAP>[​IMG]
    Tutto in uno zainetto!
    Everything in a small back-pack!
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width=620 border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]</TD><TD align=middle>[​IMG]

    </TD><TD align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width=620 border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]
    Propulsione ad elica
    Propeller
    </TD><TD align=middle>[​IMG]</TD><TD align=middle><MAP name=FPMap2><AREA shape=RECT target=_blank coords=2,8,249,188 href="OF_Pompa.htm"></MAP>[​IMG]
    Gonfiaggio facile e veloce
    Easy and quick float inflation
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>


    [​IMG]
    <!-- / message --><!-- sig -->
    แบบนี้ ราคาไม่แพงเกินไป ใช้งานได้จริงครับผม แถมยังตัดแปลงใช้งานเองได้ไม่ยากด้วย
     
  7. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    - จักรยานสามล้อนั่น สะเทินน้ำสะเทินบกด้วย Idea เยี่ยมครับ
    - จักรยานประกอบทุ่นลม และใบพัดต่อกับล้อหลัง อันนี้สะดวกขนย้ายมากครับ
    - อันล่างนี่ Hi-Tech จริงๆ ใช้แรงกดปั๊มใบพัดลมหรือยังไงครับ สงสัยมาพักนึงแล้ว
     
  8. chaimongkol2

    chaimongkol2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    164
    ค่าพลัง:
    +2,113
    ขอบคุณ zz อย่างที่คุณmeadคุณคณานันท์ว่านั่นแหละกำลังหาอยู่เอาจักรยานมาประกอบเลย
    อีกส่วนเป็นใบพัดเหรอครับพอหารูปการทำงานของมันได้ไหมครับ
    ผมว่าน่าหาทางอพยพทางน้ำเผื่อไว้
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,896
    :cool:ทริปเกี่ยวข้าวตอนหน้าหนาว น่าสนใจมากเลยครับ:cool:
     
  10. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    <TABLE class=tborder id=post1762 cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px"><TABLE cellSpacing=6 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2>[​IMG]</TD><TD noWrap>Piakgear24[SIZE=+0] <!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_onlinestatus -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_onlinestatus --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1762", true); </SCRIPT>
    Reporter
    [/SIZE]
    </TD><TD width="100%"> </TD><TD vAlign=top noWrap>วันที่สมัคร: May 2007
    ข้อความ: 183 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    Thanks: 91
    Thanked 590 Times in 154 Posts <!-- End Post Thank You Hack -->
    <!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_reputation -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_reputation -->


    </TD></TR></TBODY></TABLE><!-- / user info --></TD></TR><TR><TD class=alt1 id=td_post_1762><!-- message, attachments, sig --><!-- icon and title -->[​IMG]
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->กว่าเสาอากาศจะสำเร็จก็เอาเหนื่อยน่าดู ต้องยกนิ้วให้ทีมงานทุกๆท่านครับ
    ที่ช่วยกันออกแรงกาย แรงใจ

    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG]

    <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG]

    <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG]

    <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG]

    <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG]

    <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG]

    <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG]

    <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->
    </FIELDSET>
    <!-- / attachments --><!-- sig -->__________________
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG]

    <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->[​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --> [​IMG] <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --> <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->
    [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]
    [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    [​IMG] [​IMG]


    <!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->
     
  12. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
  13. marine24

    marine24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    2,223
    ค่าพลัง:
    +15,635
    ผมพึ่งได้เอกสารตำราปลูกข้าวเกษตรนุสติมา 1ชุด จากข้าราชการรุ่นพี่ที่กำลังจะปลดเกษียณตุลาคมนี้ เป็นตำราการทำปุ๋ยฮอร์โมนพืชและการปลูกข้าวแบบเกษตรอินทรีย์ จะถ่ายแล้วส่งไปให้คุณลุงชัยมงคล คนเขียนเป็นทหารบก แต่ศึกษาค้นค้วาและเผยแพร่ความรู้ด้านการเกษตร
     
  14. chaimongkol2

    chaimongkol2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    164
    ค่าพลัง:
    +2,113
    ขอบคุณมากครับคุณmarine24เมื่อวานเหนื่อยมากเช้าขับรถไปบางลี่เอาพันธุ์บัวหลวงขาวมา200ต้น
    มีหน่อ(ไหล)ราคา 5 บาทต่อไหล เห็นข้างทางขายพันธุ์ไผ่แวะได้39ต้นราคา 15 บาท
    พอถึงสวนให้เด็กปลูกบัวรอบสระทันที คนขายบอก บัวหลวงชมพู อย่าปลูกร่วมกับ บัวหลวงขาว
    ในสระเดียวกันบัวหลวงขาวขยายพันธุ์สู้บัวหลวงชมพูไม่ได้นานๆเข้าทั้งสระจะมีแต่บัวหลวงชมพู
    เสร็จแล้วปลูกไผ่บางต้นแกะถุงดินออกไม่มีรากเลยเหมือนตัดไผ่มาเสียบใส่ถุงดำใส่แกลบดิน
    ขายเลย กรรม.เสร็จแล้วไปซื้อแฝกมุงหลังคาส้วมห่างไป 10 กว่าโล.ให้เด็กมุงเรารดน้ำต้นไม้
    6 โมงเย็นเก็บของกลับถึงบ้าน 3ทุ่มครึ่ง
     
  15. เช้าใหม่

    เช้าใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2005
    โพสต์:
    318
    ค่าพลัง:
    +5,754
    สู้ๆ ครับ คุณลุง เด๋วจัดทริปกันอีกเมื่อไร่จาไปช่วยอีกครับ
     
  16. MOUNTAIN

    MOUNTAIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    15,035
    ค่าพลัง:
    +132,087
    [​IMG]

    องค์พ่อเบื้องบน ก็มาอำนวยอวยพร ให้กำลังใจทุกคนครับ นิมิตรหมายที่ดี

    [​IMG]

    พี่คลิก ไม่ต้องคิดมาก น้องๆตั้งใจจับลมหายใจ ไม่ลืมที่พี่สอน


    [​IMG]

    มาถึงก็เมื่อยคางเลยนะพี่พรหม


    [​IMG]

    ฮั่นแน่ แอบเห็นจนได้


    [​IMG]

    อันนี้ รำถวายมือ ข รับ


    <!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- END TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail --><!-- BEGIN TEMPLATE: postbit_attachmentthumbnail -->
    [​IMG]

    อ้าว ใครทำหัว กะ แก้ม น้องหนู ให้ชอกช้ำเนี่ย


    [​IMG]

    กำลังตรวจออร่า ตามวิธีของอาจารย์ตาที่สาม


    [​IMG]
    จับจิ้งหรีดได้เหรอพี่มารีน

    [​IMG]

    วิชานี้ได้มาจากเส้าหลิน เมื่อคราวไปเมืองจีน หมัดงูหลามพิชิตภัย


    [​IMG]

    ถามทางหน่อยพี่ ผมหลง 555+


    [​IMG]

    ไอศกรีม สเวนเซ่น สูตรใหม่


    [​IMG]

    พี่คลิก อย่าเหล่มาทางผมแบบนี้ ผมกลัว


    [​IMG]

    เลือกตั้ง งวดหน้าเลือกผมนะครับ เบอร์ 24


    [​IMG]

    เทแบบนี้ไอติม ก็ละลายหมดนะซี


    [​IMG]

    ใครใช้แรงงานเด็ก กรมแรงงานฯถามหา


    [​IMG]

    ชุดนี้สงวนลิขสิทธิ์ เฉพาะน้องเอ็กซ์ แต่ผู้เดียว


    [​IMG]

    อุ๊ย......หล่น ????????????


    [​IMG]

    ตรงนี้แหละที่ฝังหีบสมบัติ



    ถึงแม้ไม่ได้ไป ขอให้ได้แซว ด้วยรักและไมตรีที่มีให้ทุกคนครับ(verygood) (f)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กรกฎาคม 2007
  17. เช้าใหม่

    เช้าใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2005
    โพสต์:
    318
    ค่าพลัง:
    +5,754
    <TABLE><TBODY><TR><TD style="BORDER-LEFT-COLOR: #317023; BORDER-BOTTOM-COLOR: #317023; BORDER-TOP-STYLE: outset; BORDER-TOP-COLOR: #317023; BORDER-RIGHT-STYLE: outset; BORDER-LEFT-STYLE: outset; BORDER-RIGHT-COLOR: #317023; BORDER-BOTTOM-STYLE: outset" bgColor=#317023>[FONT=Tahoma,]วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 [/FONT][FONT=Tahoma,]ปีที่ 19 [/FONT][FONT=Tahoma,]ฉบับที่ 411[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [FONT=Tahoma,]บันทึกไว้เป็นเกียรติ

    ทวีศักดิ์ ชัยเรืองยศ

    นิมิตร์ เทียมมงคล กับการเพาะถั่วงอกตัดราก แบบอินทรีย์ในวงบ่อซีเมนต์

    มีตัวเลขการบริโภคถั่วงอกของคนไทย เฉพาะกรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑลมีปริมาณมากถึง 200,000 กิโลกรัม ต่อวัน เมื่อคำนวณการบริโภคทั้งประเทศภายในวันเดียวจะมีการบริโภคถั่วงอกไม่น่าจะต่ำกว่า 1 ล้านกิโลกรัม ดังนั้น อาชีพในการเพาะถั่วงอกจึงมีกระจายอยู่ทั่วประเทศ และเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่เกษตรกรและประชาชนให้ความสนใจ เนื่องจากเป็นอาชีพที่มีการลงทุนต่ำและคืนทุนได้เร็ว

    อย่างไรก็ตาม แต่รูปแบบของการเพาะถั่วงอกแบบตัดรากและผลิตในรูปแบบของเกษตรอินทรีย์ จนได้รับใบรับรองผลิตภัณฑ์อินทรีย์ มาตรฐานประเทศไทย จากกรมวิชาการเกษตร ในบ้านเรามีอยู่เพียงไม่กี่ราย และที่มีชื่อเสียงระดับประเทศจากรูปแบบการเพาะของ คุณนิมิตร์ เทียมมงคล อยู่บ้านเลขที่ 98 หมู่ที่ 3 ตำบลโคกลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15000 โทร. (036) 613-031 และ (081) 251-8285 ที่เริ่มต้นจากการเพาะถั่วงอกตัดรากไร้สารพิษในตะกร้าพลาสติค ปัจจุบันได้ประยุกต์วิธีการเพาะเพื่อให้มีผลผลิตมากขึ้นตามความต้องการของตลาด โดยเพาะในบ่อซีเมนต์

    เพาะถั่วงอกเนื่องจากเปิดร้านขายอาหารมังสวิรัติ

    คุณนิมิตร์และครอบครัวเปิดร้านขายอาหารมังสวิรัติมานานนับ 10 ปี โดยใช้ชื่อร้านว่า "ศูนย์งอกงาม" ร้านตั้งอยู่ตรงข้ามกับ บ.ข.ส. ลพบุรี ในแต่ละวันจะมีผู้คนเข้ามารับประทานอาหารมังสวิรัติเป็นจำนวนมาก และเมนูอาหารที่ได้รับความสนใจเป็นพิเศษคือ อาหารที่ทำจากถั่วงอก อาทิ ยำถั่วงอกตัดราก ก๋วยเตี๋ยวต่างๆ ฯลฯ ดังนั้น ถั่วงอกจึงเป็นวัตถุดิบที่สำคัญของร้านศูนย์งอกงาม คุณนิมิตร์จึงได้พยายามศึกษาและค้นคว้าวิธีการเพาะถั่วงอกในรูปแบบ โดยเน้นเรื่องปลอดสารพิษเป็นหลักสำคัญ ไปดูงานการเพาะถั่วงอกในที่ต่างๆ อ่านหนังสือทุกเล่มเกี่ยวกับการเพาะถั่วงอกจนสามารถนำมาเพาะและนำผลผลิตมาขายในร้านได้ แต่ถั่วงอกที่เพาะได้ในช่วงแรกๆ จะได้ต้นถั่วงอกที่มีความขาวก็จริง แต่ส่วนของรากมีสีดำและพฤติกรรมการบริโภคถั่วงอกของคนไทยไม่ชอบรับประทานส่วนราก เพราะกินยาก โดยเฉพาะในกลุ่มคนผู้สูงอายุ

    คุณนิมิตร์ได้พยายามค้นหาวิธีการเพาะถั่วงอกเพื่อให้ไม่มีราก ในที่สุดก็เข้าใจถึงหลักการ โดยคิดว่าเมล็ดถั่วงอกเมื่อหว่านลงดิน รากจะดิ่งตั้งตรง จึงนำแนวคิดนี้นำเมล็ดถั่วเขียวโรยบนตะแกรงที่มีรูละเอียดดู ผลปรากฏว่ารากที่ออกมาจากเมล็ดถั่วงอกชอนไชลงไปในรู ทำให้ต้นถั่วงอกตั้งตรงได้ จึงได้เกิดแนวคิดด้วยการโรยเมล็ดถั่วเขียวให้มีความหนาแน่นพอประมาณ ต้นถั่วงอกจะแย่งกันออกสม่ำเสมอและเบียดแข่งกัน ต้นถั่วงอกตั้งตรงสามารถตัดส่วนของรากออกจากต้นถั่วได้อย่างสะดวก และยังสามารถเพาะถั่วงอกเป็นชั้นๆ ได้ คล้ายกับคอนโดฯ ความสำเร็จนี้คุณนิมิตร์เรียกว่า การเพาะ "ถั่วงอกตัดราก" หรือการเพาะ "ถั่วงอกคอนโดฯ"

    คิดจะเพาะถั่วงอกตัดรากแบบอินทรีย์ ควรเริ่มต้นเรียนรู้จากการเพาะในตะกร้าพลาสติคก่อน คุณนิมิตร์ได้บอกถึงหลักพื้นฐาน 3 ประการ ในการเพาะถั่วงอกตัดรากแบบอินทรีย์ว่า

    หนึ่ง เมล็ดถั่วเขียว ที่จะนำมาเพาะจะต้องมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูง สายพันธุ์ที่คุณนิมิตร์แนะนำและใช้อยู่คือ พันธุ์ "กำแพงแสน 2" เนื่องจากเป็นถั่วเขียวที่มีเมล็ดใหญ่ ทำให้ต้นถั่วงอกที่เพาะได้มีขนาดต้นโต ยาว และอวบอ้วน น่ารับประทาน

    สอง ภาชนะที่ใช้เพาะถั่วงอกจะต้องทึบแสงและมีการระบายน้ำดี เช่น การเพาะในตะกร้าพลาสติคให้เอาถุงดำมาคลุมไว้และตั้งไว้ในห้องมืด หรือถ้าเพาะในบ่อซีเมนต์จะต้องปิดปากบ่อให้มิดชิด

    สาม มีการให้น้ำอย่างเหมาะสมและเพียงพอที่จะทำให้ถั่วงอกที่เพาะไม่เกิดความร้อนที่สะสมมากเกินไป วิธีการสังเกตง่ายๆ ว่ามีความร้อนสะสมหรือไม่ โดยผู้เพาะใช้มือสัมผัสเมล็ดถั่วเขียวส่วนของชั้นบนสุดว่ารู้สึกร้อนหรือไม่ และในการให้น้ำในแต่ละครั้งจะต้องไม่มีไอจากความร้อนขึ้นมา ถ้าตะกร้าพลาสติคหรือวงบ่อซีเมนต์ที่ใช้เพาะถั่วงอกมีความร้อนสะสมมากเกินไป จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของถั่วงอก จะได้ถั่วงอกลำต้นเล็กไม่อวบอ้วน และต้นถั่วงอกมีจำนวนรากฝอยมากไม่น่ารับประทาน

    เมื่อเข้าใจถึงหลัก 3 ประการ เบื้องต้นแล้ว คุณนิมิตร์แนะนำให้เกษตรกรและผู้สนใจเริ่มต้นเพาะถั่วงอกตัดรากแบบอินทรีย์ในตะกร้าพลาสติคให้เกิดความชำนาญก่อน เมื่อเกิดความชำนาญแล้วจึงมาเริ่มเพาะในวงบ่อซีเมนต์ ผลผลิตถั่วงอกตัดรากที่เพาะในตะกร้าพลาสติคจะได้ประมาณ 6-7 กิโลกรัม ต่อ 1 ตะกร้า ในขณะที่เพาะในบ่อซีเมนต์ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 50 เซนติเมตร และมีความสูงของวงบ่อ 50 เซนติเมตร จะเพาะถั่วงอกได้ผลผลิตเฉลี่ย 10-12 กิโลกรัม ต่อวงบ่อ

    มั่นใจในคุณภาพถั่วงอกว่าปลอดสารเคมีทุกชนิด

    เนื่องจากการันตีด้วยมาตรฐานเกษตรอินทรีย์


    คุณนิมิตร์เริ่มต้นในการเพาะถั่วงอกโดยยึดหลักปลอดสารเคมีมาตั้งแต่ต้น จะไม่มีการใช้สารเคมีหรือแม้แต่การปลูกผักชนิดต่างๆ ที่นำมาเป็นวัตถุดิบประกอบอาหารในร้านศูนย์งอกงาม จะมีการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ทั้งหมด จนได้การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (Organic Thailand) จากกรมวิชาการเกษตร ว่าถั่วงอกตัดรากและผักชนิดต่างๆ เช่น วอเตอร์เครส ที่ปลูกในพื้นที่ 3 ไร่ ปลอดจากการใช้สารเคมีทุกชนิด จุดนี้สร้างความมั่นใจให้แก่ผู้บริโภคและสร้างความภูมิใจให้แก่คุณนิมิตร์ที่สามารถผลิตถั่วงอกอินทรีย์ตามที่ได้ตั้งใจไว้

    เผยแพร่ความรู้

    และสร้างเครือข่ายเกษตรอินทรีย์สู่เกษตรกร


    ขณะนี้วิธีการเพาะถั่วงอกแบบอินทรีย์ในวงบ่อซีเมนต์ของ คุณนิมิตร์ เทียมมงคล ได้จดทะเบียนสิทธิบัตรเป็นทรัพย์สินทางปัญญาของคนไทยเรียบร้อยแล้ว คุณนิมิตร์ได้บอกเหตุผลหลักของการจดสิทธิบัตรเพื่อป้องกันคนต่างชาติขโมยความรู้และภูมิปัญญาของคนไทยไป แต่สำหรับคนไทยคุณนิมิตร์มีความยินดีที่จะเผยแพร่ความรู้วิธีการเพาะทุกขั้นตอนโดยไม่ปิดบัง เปิดให้เกษตรกรและผู้สนใจเข้าศึกษาดูงานและมาฝึกปฏิบัติจริงได้ที่บ้าน ไม่มีการหวงวิชาแม้แต่น้อย คุณนิมิตร์ยึดหลักธรรมะที่ว่า "การให้เป็นเรื่องที่ต้องปฏิบัติ"

    นอกจากนั้น ในทุกวันนี้คุณนิมิตร์ยังมีการเผยแพร่ความรู้การเพาะถั่วงอกและการปลูกผักแบบอินทรีย์แก่เกษตรกรในละแวกใกล้เคียง ที่สนใจจะประกอบเป็นอาชีพเสริม ในช่วงว่างเว้นจากการทำนา มีเกษตรกรหลายครัวเรือนมีรายได้เพิ่มเติมจากการเพาะถั่วงอกตัดรากและปลูกผักแบบอินทรีย์ เป็นเงิน 2,000-3,000 บาท ต่อเดือน ปัจจุบันคนในหมู่บ้านที่สนใจจะเรียนรู้วิธีการทำการเกษตรแบบอินทรีย์แบบคุณนิมิตร์ได้มีการรวมตัวกันตั้งเป็น "กลุ่มเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ ตำบลโคกลำพาน" มีสมาชิกจำนวน 60 คน คุณนิมิตร์ได้ย้ำกับสมาชิกในกลุ่มทุกคนว่า ในการทำเกษตรอินทรีย์มีข้อจำกัดตรงที่จะต้องเริ่มทำในปริมาณน้อยๆ ก่อน ถ้าเกษตรกรนำ "ปริมาณ" มาเป็นตัวตั้งและผลิตให้ได้มากที่สุดส่วนใหญ่จะล้มเหลว

    กำลังการผลิตถั่วงอกตัดรากแบบอินทรีย์ ใน 1 วงบ่อซีเมนต์

    ปัจจุบัน คุณนิมิตร์มีวงบ่อ จำนวน 90 วงบ่อ โดยเพาะถั่วงอกหมุนเวียนไปมา จำนวน 15 วงบ่อ ต่อครั้ง หรืออาจจะมากขึ้นตามออเดอร์ที่สั่งเพิ่มเข้ามา และจะเพาะสัปดาห์ละ 2 วัน เพื่อให้มีถั่วงอกจำหน่ายส่งขายทุกวันจันทร์และวันพฤหัสบดี ในแต่ละครั้งจะผลิตถั่วงอกตัดรากได้เฉลี่ย 200-400 กิโลกรัม ใน 1 วงบ่อซีเมนต์ จะใช้เมล็ดถั่วเขียวพันธุ์กำแพงแสน 2 อัตรา 1.8 กิโลกรัม จะเพาะถั่วงอกได้ประมาณ 10-12 กิโลกรัม

    เอกลักษณ์ของถั่วงอกตัดรากแบบอินทรีย์

    คุณนิมิตร์ได้บอกถึงเอกลักษณ์และคุณสมบัติเด่นของถั่วงอกของร้าน "ศูนย์งอกงาม" จะมีลักษณะดังนี้ "ต้นยาวและขาว รสชาติหวานกรอบ ที่หลายคนได้รับประทานแล้วบอกว่าเหมือนกับกินมันแกว ไม่มีกลิ่นเหม็นเขียว เนื่องจากเป็นถั่วงอกอินทรีย์ ทำให้เก็บรักษาได้นาน ถ้าบรรจุใส่ถุงพลาสติคมัดปากถุงให้แน่นเก็บทิ้งไว้ในอุณหภูมิปกติ จะไว้ได้นานเป็นเวลา 3 วัน แต่ถ้าเก็บไว้ในตู้เย็นจะเก็บได้นานถึง 7-10 วัน"

    ในอดีตการเพาะถั่วงอกตัดรากของคุณนิมิตร์จะเน้นให้ได้ต้นถั่วงอกที่มีลักษณะอ้วนสั้น แต่พบปัญหาลักษณะการอวบน้ำมากกว่าต้นยาว มีอายุการจำหน่ายสั้นและเกิดเน่าเสียได้ง่าย สำหรับเกษตรกรและผู้สนใจเพาะถั่วงอกไว้รับประทานเองและต้องการต้นถั่วงอกที่อวบอ้วน คุณนิมิตร์ได้บอกถึงเทคนิคอยู่ที่การถ่วงน้ำเพื่อต้นถั่วอวบอ้วนในคืนที่ 2 ของการเพาะ ซึ่งเป็นช่วงที่ต้นถั่วงอกเจริญเติบโตได้ดีที่สุด เป็นระยะของการยืดยาวของต้นมากที่สุดและเป็นช่วงที่ต้องการน้ำและความชื้นมาก สำหรับการเพาะถั่วงอกในตะกร้าพลาสติค ปกติจะมีการรดน้ำให้ตะกร้าพลาสติค 3 เวลาแล้ว ในคืนที่ 2 จะต้องรดน้ำบนถุงดำที่ปิดตะกร้าแน่น รดจนให้น้ำขังเป็นแอ่งบนปากตะกร้าโดยน้ำหนักของน้ำจะไปกดทับต้นถั่วงอก จะส่งผลให้ต้นถั่วงอกมีขนาดของต้นที่อวบอ้วน

    ขั้นตอนการบรรจุถุงและการเก็บรักษา เมื่อต้นถั่วงอกตัดรากสะเด็ดน้ำแล้ว จะต้องรีบนำไปบรรจุลงถุงพลาสติคทันทีและมัดปากถุงให้แน่น ถ้าปล่อยให้ถั่วงอกสัมผัสอากาศนานๆ ต้นถั่วงอกจะเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีเหลืองแล้วจะคล้ำดำในที่สุด เมื่อนำไปประกอบอาหารไม่น่ารับประทาน และตลาดไม่ต้องการ

    ถั่วงอกตัดรากแบบอินทรีย์ส่งขายตลาดบน

    และบางส่วนส่งขายตลาดต่างประเทศ


    คุณนิมิตร์ได้ทำการเกษตรแบบอินทรีย์โดยยึดหลักการที่ว่า "เมื่อสินค้ามีคุณภาพได้มาตรฐาน สินค้าก็จะขายด้วยตัวของมันเอง" ถั่วงอกตัดรากแบบอินทรีย์ของคุณนิมิตร์มีส่งขายให้ห้างสรรพสินค้าในเครือเดอะมอลล์ กรุ๊ป, เลมอน ฟาร์ม, ร้านศูนย์ศิลปาชีพเกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ร้านโกลเด้นเพลส และท็อปส์ ซุปเปอร์มาร์เก็ต ภายใต้แบรนด์สินค้าที่ คุณหมอประเวศ วะสี ได้ให้ความกรุณาตั้งชื่อให้ว่า "ถั่วงอกรักชาติ" ด้วยลักษณะของถั่วงอกที่ขึ้นตั้งตรงอย่างเป็นระเบียบเหมือนคนเข้าแถวเรียงกัน

    นอกจาก "ถั่วงอกรักชาติ" จะมีจำหน่ายภายในประเทศแล้ว คุณนิมิตร์จะมีการส่งถั่วงอกตัดรากสดบรรจุกล่องโฟมส่งไปยังประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (ดูไบ) ทางเครื่องบิน (ส่งไปให้ร้านอาหารไทยที่ดูไบ) นอกจากนั้น ยังมีภาคเอกชนมารับซื้อถั่วงอกตัดรากไปเป็นส่วนหนึ่งของวัตถุดิบในการผลิตก๋วยเตี๋ยวผัดไทยแบบแช่แข็งเพื่อส่งออกไปขายยังประเทศสหรัฐอเมริกา

    หนังสือ "การเพาะถั่วงอกตัดรากแบบอินทรีย์ในวงบ่อซีเมนต์" แจกฟรี พร้อมกับ "ไม้ผลแปลกและหายาก" พิมพ์ 4 สี จำนวน 120 หน้า เกษตรกรและผู้สนใจเขียนจดหมายสอดแสตมป์จำนวน 50 บาท ส่งมาขอได้ที่ ชมรมเผยแพร่ความรู้ทางการเกษตร เลขที่ 2/200 ถนนศรีมาลา ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร 66000 โทร. (056) 613-021, (056) 650-145 และ (081) 886-7398


    [/FONT]
     
  18. เช้าใหม่

    เช้าใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2005
    โพสต์:
    318
    ค่าพลัง:
    +5,754
    <TABLE><TBODY><TR><TD style="BORDER-LEFT-COLOR: #317023; BORDER-BOTTOM-COLOR: #317023; BORDER-TOP-STYLE: outset; BORDER-TOP-COLOR: #317023; BORDER-RIGHT-STYLE: outset; BORDER-LEFT-STYLE: outset; BORDER-RIGHT-COLOR: #317023; BORDER-BOTTOM-STYLE: outset" bgColor=#317023>[FONT=Tahoma,]วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 [/FONT][FONT=Tahoma,]ปีที่ 19 [/FONT][FONT=Tahoma,]ฉบับที่ 411[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [FONT=Tahoma,]ภูมิปัญญาไทย

    ชำนาญ ทองเกียรติกุล

    เกษตรกรหนองแขม กลั่นน้ำมัน-เพิ่มมูลค่าให้ดอกจำปี

    จำปี เป็นไม้ดอกยืนต้นที่ปลูกในประเทศไทยเป็นเวลานานแล้ว โดยเฉพาะในพื้นที่เขตหนองแขม กทม. เกษตรกรสนใจปลูกกันมากถึงพันกว่าไร่ โดยส่วนใหญ่จะเก็บดอกขายตลาดคือ ปากคลองตลาด ส่วนตลาดต่างประเทศที่รับซื้อ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม บรูไน

    คุณสุนันท์ หนูแย้ม หรือ พี่แมว ชาวสวนจำปีเล่าให้ฟังว่า ด้วยความที่เกษตรกรที่นี่จะปลูกจำปีกันมาก จึงรวมกลุ่มกันเป็นกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรหนองแขม ได้ประมาณ 31 คน เพื่อปรึกษาหารือปัญหาสวนจำปี ไม่ว่าจะเป็นดิน ปุ๋ยแต่เดิมนั้นชาวสวนจะใช้เคมีกันมาก ปัจจุบันหันมาใช้ชีวภาพกันเยอะ ลดต้นทุน

    ราคาปกติของดอกจำปี จะอยู่ฤดูกาลช่วงหน้าฝนราคาจะอยู่ในช่วงร้อยดอก ต่อ 10-30 บาท แต่ยามหน้าหนาวราคาตกดอกละเกือบบาทก็ยังมี และถ้าวันไหนไม่มีแดดราคาก็อาจจะตกดอกละ 80-90 สตางค์ ช่วงหน้าฝนและหน้าแล้งราคาจะถูกมาก



    ล้นตลาดต้องขนไปให้วัด

    พี่แมวเล่าให้ฟังว่า ช่วงที่ดอกจำปีออกกันมากล้นตลาดปากคลอง พอสามทุ่มกว่าๆ ราคาก็จะตกแล้ว จะต้องขนดอกจำปีไปให้วัดแถวใกล้บ้านกันเลย ขนกันเป็นคันรถปิคอัพ ทางวัดจะเอาไปป่นผสมทำพระผง "จะขายดีคือวันโกน และวันพระ นอกนั้นราคาจะไม่ค่อยดีแล้วไปส่งตลาดช้าราคาก็จะตก" พี่แมวบอก

    ปลูกจำปีมา 15 ปี ก็มีขึ้นมีลงตามสถานการณ์ พี่แมวมามองดูว่า ทำไมจำปีล้นตลาดอย่างนี้ เลยหาหนทางที่แปรรูปจำปีว่า จะทำอย่างไรจะเพิ่มมูลค่าของจำปีได้บ้าง

    "กระทั่งสำนักงานเกษตรของเขตส่งเจ้าหน้าที่มาศึกษาเรื่องกล้วยไม้เพื่อสกัดเอาน้ำมัน สามีคือ คุณพยุง ก็ตามเจ้าหน้าที่ท่านนั้นไป พร้อมเสนอว่า จำปีก็มีน้ำมันหากกลั่นออกมา ทางเจ้าหน้าที่สนใจก็เลยนำจำปีไปกลั่นน้ำมันที่มหาวิทยาลัยเกษตรฯ บางเขน พบว่า มีน้ำมันจริง ใช้จำปีเยอะมาก แต่ได้น้ำมันไม่กี่หยด ที่สำคัญกลิ่นแรงมาก แต่หอมนะตอนทดลองใช้ดอกจำปีไป 500 ดอก ตอนนั้นประมาณปี "45" พี่แมวอธิบาย

    เมื่อผลออกมาจำปีสามารถกลั่นน้ำมันออกมาได้ เลยเขียนโครงการขอเงินทุนรัฐบาลมาทำเครื่องกลั่น อนุมัติได้เงินมา 150,000 บาท หากไปจ้างให้ช่างทำเครื่องกลั่นตัวหนึ่งตกประมาณ 150,000 บาท แล้วทางสามีเลยคิดประดิษฐ์ของเครื่องกลั่นเองเลย ทำแบบชาวบ้านพอใช้ได้ ราคาประมาณ 70,000-80,000 บาท พอลดต้นทุนไปได้บ้าง



    ประสบความสำเร็จ

    กระทั่งปี 2548 เดือนกันยายน สามารถกลั่นน้ำมันจำปีออกมาทางการค้าได้ อย่างที่บอกแต่แรกกลั่นน้ำมันออกมาได้น้อยมาก จึงคิดที่นำน้ำจำปีจากกระบวนการกลั่นน้ำมันมาใช้ประโยชน์

    "ประจวบเหมาะมีที่สำนักงานเกษตรหนองแขมอบรมผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ทำจากสมุนไพร เลยไปอบรมเพื่อที่จะนำน้ำจากการกลั่นน้ำมันจำปีมาเป็นตัวผสม จากนั้นมาก็มี ผลิตน้ำปรุงสมุนไพร ครีมอาบน้ำ เกลือขัดผิว ซึ่งมีส่วนผสมของน้ำจำปีเป็นตัวหลักออกวางจำหน่าย" พี่แมว บอก



    สันติบาตสหกรณ์เข้ามาช่วย

    ระหว่างที่ผลิตออกจำหน่ายนั้น ทางสันติบาตสหกรณ์ทราบข่าวก็มาดูพบว่า สินค้ามีจุดด้อยเรื่องบรรจุภัณฑ์ จึงเข้ามาช่วยเหลืออบรมพร้อมให้เงินทุนมา รูปแบบบรรจุภัณฑ์ของสินค้าจึงดูดีขึ้น

    "ตอนนี้น้ำมันจำปีก็จดลิขสิทธิ์เรียบร้อยเพื่อกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น ผลจากการต่อยอดจำปีได้ครั้งนี้ทำเอาปัญหาจำปีล้นตลาดลดน้อยลง หากชาวสวนเจ้าใดขายจำปีไม่หมด ไม่ต้องทิ้งแล้วก็จะมาขายที่บ้านจะให้ราคาตลาด ณ ปัจจุบันเป็นการช่วยเหลือกัน" พี่แมวบอก

    เรื่องน่าเศร้า บ้านจัดสรรรุก พื้นที่สวนลด

    ตอนนี้พื้นที่ปลูกจำปีที่หนองแขมเริ่มจะลดน้อยลง เพราะถูกนายทุนมากว้านซื้อที่ทำบ้านจัดสรรกันมากขึ้น ชาวสวนดั้งเดิมเลยไปซื้อที่แถวนครชัยศรี ปลูกสวนจำปีแทน

    หากผู้ใดสนใจผลิตภัณฑ์น้ำหอมจำปีสามารถติดต่อได้ที่ บ้านเลขที่ 31 หมู่ที่ 2 แขวง/เขตหนองแขม กทม. หรือ โทร. (02) 807-2769, (086) 090-9608


    [/FONT]
     
  19. เช้าใหม่

    เช้าใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2005
    โพสต์:
    318
    ค่าพลัง:
    +5,754
    <TABLE><TBODY><TR><TD style="BORDER-LEFT-COLOR: #317023; BORDER-BOTTOM-COLOR: #317023; BORDER-TOP-STYLE: outset; BORDER-TOP-COLOR: #317023; BORDER-RIGHT-STYLE: outset; BORDER-LEFT-STYLE: outset; BORDER-RIGHT-COLOR: #317023; BORDER-BOTTOM-STYLE: outset" bgColor=#317023>[FONT=Tahoma,]วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 [/FONT][FONT=Tahoma,]ปีที่ 19 [/FONT][FONT=Tahoma,]ฉบับที่ 411[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [FONT=Tahoma,]ภูมิปัญญาไทย

    โสภี ทุมลา

    ก๊าซโซฮอล์ จากเมล็ดขนุน ผลงานวิจัยนักเรียนเฉลิมขวัญสตรีพิษณุโลก

    จังหวัดพิษณุโลก เป็นแหล่งผลิตและจำหน่ายผลไม้หลากหลายชนิด ขนุน คือหนึ่งในจำนวนผลไม้ที่ได้รับความนิยมจากผู้บริโภค โดยมีทั้งขนุนแบบดิบและสุก ซึ่งขนุนสุกมักจะจำหน่ายในลักษณะทั้งลูก หรือการผ่าแล้วแกะเอาเมล็ดออกจำหน่ายเฉพาะยวง เมล็ดส่วนใหญ่จะถูกทิ้งไปแบบเปล่าประโยชน์ แม้ว่าบางคนอาจจะนำมาต้มสุกหรือเผาไฟ เพื่อรับประทานเป็นอาหารว่าง แต่ปริมาณของเมล็ดขนุนที่ถูกทิ้งในแต่ละวันมีเป็นจำนวนมาก กลุ่มโครงงานวิจัยของเด็กนักเรียน ม.ปลาย โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีพิษณุโลก จึงได้เกิดแนวความคิดในการนำเอาเมล็ดขนุนมาผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ได้เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) เช่นเดียวกับข้าว หรือมันสำปะหลัง ซึ่งแอลกอฮอล์ที่ได้สามารถจะเป็นส่วนผสมกับน้ำมันเบนซิน 95 เพื่อไปเป็นก๊าซโซฮอล์ต่อไป

    โครงงานวิจัยดังกล่าว ชื่อว่า "แอลกอฮอล์จากเมล็ดขนุน ทางเลือกใหม่ของก๊าซโซฮอล์" เป็นผลงานของ 3 นักเรียนหญิง ชั้น ม.6/4 คือ นางสาวสกาวทิพย์ ศิริสินเลิศ นางสาววิสาข์ บัวแจ่มรัตนวงศ์ และนางสาวกมลชนก โลหะบริสุทธิ์ โดยมีอาจารย์วิมลรัตน์ หาญณรงค์ เป็นที่ปรึกษา ขั้นตอนเริ่มจากการเลือกชนิดของเมล็ดพืชที่จะนำมาใช้ในการทดลอง ซึ่งทั้ง 3 คน เลือกเมล็ดขนุน เปรียบเทียบกับเมล็ดเงาะ และเมล็ดทุเรียน ว่าชนิดไหนให้ปริมาณแป้งมากกว่ากัน โดยเริ่มจากการนำเมล็ดผลไม้ทั้ง 3 ชนิด ต้มสุก แล้วบดละเอียดอย่างละ 1 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายไอโอดีน 1% จำนวน 5 หยด ผลที่ได้คือ เมล็ดขนุน มีแป้งมากที่สุดคือ 16.25% ขณะที่เมล็ดเงาะได้แป้ง 3.78% เมล็ดทุเรียนได้แป้ง 4.02% ขณะที่เมื่อใช้เครื่องวัดน้ำตาลพบว่าเมล็ดขนุนมีน้ำตาลเป็นองค์ประกอบอยู่มากที่สุด คือ 15.13 เปอร์เซ็นต์บริกซ์

    นางสาวสกาวทิพย์ ศิริสินเลิศ หนึ่งในทีมงาน อธิบายว่า จากการทดสอบพบว่าเมล็ดขนุนมีทุกอย่างที่เราต้องการมากกว่าเมล็ดเงาะและทุเรียน ขั้นตอนต่อไปคือ การทดสอบเพื่อหาปริมาณแอลกอฮอล์ โดยใช้หลักการเหมือนกับการทำสุราพื้นบ้านในการกลั่นแอลกอฮอล์จากแป้ง โดยการนำเมล็ดขนุนต้มจนสุก นำมาบดให้ละเอียด ผ่านการฆ่าเชื้อ จำนวน 300 กรัม เติมน้ำ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร หมักด้วยลูกแป้งข้าวหมาก 1 ก้อน (2.30 กรัม) ในขวด เป็นเวลา 2 วัน แล้วตรวจสอบน้ำตาล พบว่ามีปริมาณน้ำตาลเพิ่มขึ้น เมื่อหมักต่อไปอีก 3 วัน พบว่ามีปริมาณเอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) เกิดขึ้น ซึ่งเมล็ดขนุนจะมีปริมาณมากกว่าการหมักแป้งจากเมล็ดเงาะและทุเรียน

    "นอกจากนั้น เรายังได้ทำการทดสอบ เพื่อหาสัดส่วนที่เหมาะสมในเรื่องของส่วนผสมแต่ละอย่าง โดยจากการทดลองพบว่า ในเนื้อแป้งจากเมล็ดขนุน จำนวน 300 กรัม นำมาผสมกับลูกแป้งข้าวหมาก จำนวน 2 ก้อน (4.60 กรัม) และหมักทิ้งไว้เป็นเวลา 7 วัน ถือว่าเหมาะสมที่สุด และจะทำให้ได้ปริมาณเอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) 42.36% โดยปริมาตร และยังพบว่าเมื่อนำส่วนผสมจากรำข้าว 100 มิลลิกรัม จะทำให้ได้ปริมาณเอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) เพิ่มมากขึ้นเป็น 45.63% โดยปริมาตร ขั้นตอนต่อไปคือ การนำเอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) ที่ได้ไปกลั่นลำดับส่วนจะทำให้ได้เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) 95% ที่สามารถนำไปใช้ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ได้ เช่น การสกัดสาร หรือเป็นตัวทำละลาย" นางสาวสกาวทิพย์ กล่าว

    ด้าน นางสาววิสาข์ บัวแจ่มรัตนวงศ์ เสริมว่า ในการทดลอง คณะทำงานได้เลือกใช้เมล็ดขนุนหนัง ส่วนลูกแป้งข้าวหมาก เป็นสูตรเฉพาะของ คุณลุงจวบ หลิมเจริญ ชาวบ้านตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งประกอบด้วย ชะเอม กระเทียม ดีปลี ขิงแห้ง พริกไทย แป้งข้าวเจ้า น้ำหนักเฉลี่ยก้อนละ 2.30 กรัม ซึ่งแอลกอฮอล์ที่ได้จากการหมักแป้งจากเมล็ดขนุนกับลูกแป้งข้าวหมาก เกิดจากการทำปฏิกิริยาของเชื้อราในลูกแป้งข้าวหมาก ชนิดแอสเพอร์จิลลัส (Aspergillus) และอะมัยโลมัยซีส (Amylomyces) ที่สามารถย่อยแป้งในเมล็ดพืชให้เป็นน้ำตาลได้ จากนั้นยีสต์ในลูกแป้งข้าวหมากชนิดเอนโดมัยคอพซิส (Endomycopsis spp.) และแซ็กชาโรมัยซีส (Saccharomyces spp.) จะปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยน้ำตาล จนได้แอลกอฮอล์ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และพลังงาน

    "และในกระบวนการหมัก เมื่อมีการเติม ไนอะซิน ลงไป จะได้เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) เร็วขึ้น ทำให้เมื่อเรานำเอารำข้าว ซึ่งมีส่วนประกอบของคาร์โบไฮเดรต และไนอะซินสูง มาเป็นส่วนผสมในการหมัก จะทำให้ได้แอลกอฮอล์เร็วและมีปริมาณที่มากยิ่งขึ้น และเมื่อเรานำเอา เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) ที่ได้มาทำการกลั่นลำดับส่วน (ลักษณะเดียวกับการกลั่นสุราพื้นบ้าน) จะได้เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) 95% และเมื่อผ่านกระบวนการกลั่นขั้นสูง เช่น การใช้โมเลกุล่าซีฟ หรือใช้เครื่องแยกระบบเมมเบรน จะทำให้ได้ เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) บริสุทธิ์ 99.5% ซึ่งสามารถที่จะนำไปผสมกับน้ำมันเบนซิน 91 กลายเป็นก๊าซโซฮอล์ได้ และเมื่อเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตพบว่า เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) 95% จากเมล็ดขนุนมีต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่าเอทิลแอลกอฮอล์จากมันสำปะหลัง และแอลกอฮอล์ในท้องตลาดทั่วไป ประมาณ 35 บาท ในปริมาตร 450 ลูกบาศก์เซนติเมตร" นางสาวกมลชนก โลหะบริสุทธิ์ สาวน้อยอีกหนึ่งคนของทีมงานอธิบาย

    อาจารย์วิมลรัตน์ หาญณรงค์ ที่ปรึกษาโครงงาน กล่าวว่า กิจกรรมนี้เป็นโจทย์ที่อยากให้เด็กได้คิดเอง ทำเอง โดยเน้นในเรื่องใกล้ตัว เมื่อคิดแล้วจึงลงมือทำ ทางอาจารย์ ทางโรงเรียนจะช่วยสนับสนุนในเรื่องอุปกรณ์ เสริมแนวความรู้ พาไปดูงานยังแหล่งทดลองอื่นๆ ที่มีเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทันสมัย ซึ่งทั้ง 3 คน แสดงให้เห็นถึงแนวความคิดที่นำไปสู่การทดลองที่เห็นผลอย่างรวดเร็ว ที่สำคัญ โครงงาน "แอลกอฮอล์จากเมล็ดขนุน ทางเลือกใหม่ของก๊าซโซฮอล์" ยังได้ส่งเข้าร่วมการประกวดโครงงานของนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ (YSC) ที่มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ซึ่งสามารถคว้ารางวัลชนะเลิศเป็นตัวแทนภาคเหนือเข้าร่วมการประกวดระดับประเทศต่อไปด้วย

    ความสามารถในการคิดและลงมือทำของคณะทำงานรุ่นเยาว์ทั้ง 3 คน ถือว่าไม่ธรรมดา เพราะสามารถที่จะดึงเอาเรื่องใกล้ตัว อยู่ในชีวิตประจำวันของคนไทยออกมาเพื่อเปลี่ยนทิศทางการนำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลายยิ่งขึ้น ที่สำคัญยังเป็นโครงงานที่ถือว่าอยู่ในช่วงที่สังคมกำลังให้ความสนใจ นั่นคือ เรื่องของก๊าซโซฮอล์ เพราะเป็นอีกทางเลือกสำหรับผู้ใช้รถยนต์ทั่วประเทศไทย ที่จะตัดสินใจใช้พลังงานทดแทนน้ำมันเหล่านี้หรือไม่...ซึ่งไม่แน่ว่า จุดประกายเล็กๆ จาก 3 นักเรียนสาว โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีพิษณุโลก อาจจะกลายเป็นโครงการขนาดใหญ่ หากสิ่งเหล่านี้ได้รับการต่อยอดในอนาคต ใครที่อยากทราบรายละเอียดในขั้นตอนทดลอง ลองพูดคุยกับอาจารย์วิมลรัตน์ หาญณรงค์ ที่ปรึกษาโครงงาน หมายเลขโทรศัพท์ (089) 566-8154


    [/FONT]
     
  20. เช้าใหม่

    เช้าใหม่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2005
    โพสต์:
    318
    ค่าพลัง:
    +5,754
    <TABLE><TBODY><TR><TD style="BORDER-LEFT-COLOR: #317023; BORDER-BOTTOM-COLOR: #317023; BORDER-TOP-STYLE: outset; BORDER-TOP-COLOR: #317023; BORDER-RIGHT-STYLE: outset; BORDER-LEFT-STYLE: outset; BORDER-RIGHT-COLOR: #317023; BORDER-BOTTOM-STYLE: outset" bgColor=#317023>[FONT=Tahoma,]วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 [/FONT][FONT=Tahoma,]ปีที่ 19 [/FONT][FONT=Tahoma,]ฉบับที่ 411[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [FONT=Tahoma,]เกษตรต่างแดน

    ศักดา ศรีนิเวศน์ sakdasi@doae.go.th

    ปลูกผักไร้ดินบนต้นกล้วย ของดี ที่เวียดนาม

    เมื่อวันที่ 12-16 มีนาคม 2550 ผู้เขียนได้รับเกียรติจากมูลนิธิโครงการหลวง ให้เป็นผู้ประสานงานนำคณะเจ้าหน้าที่โครงการหลวง จำนวน 19 คน นำโดย ดร.ไพฑูรย์ พลสนะ และ อาจารย์เสียงทอง นุตาลัย ไปศึกษาดูงานด้านการปลูกผักเมืองหนาวตามมาตรฐาน UREPGAP ที่เมืองดาลัต จังหวัดลามด่ง และตลาดกลางสินค้าเกษตรเบิ่นดินห์ นครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม

    ในโอกาสที่ไปเยี่ยมชมการปลูกพืชผักเมืองหนาวที่ "ออการ์นิคฟาร์ม" (Organik farm) ของ ดร.เหวียน บา ฮุง (Dr.Nguyen Ba Hung) ซึ่งเป็นผู้ปลูกผักที่ได้มาตรฐาน ตามมาตรฐานของยุโรปเพียงรายเดียวในประเทศเวียดนาม คณะของเราได้รับความรู้จาก ดร.ฮุง เป็นอันมาก

    ดร.ฮุง สำเร็จการศึกษาทางด้านพันธุศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส และมีความสนใจทางด้านการเกษตรมาก เมื่อสำเร็จการศึกษาก็ไม่ยอมไปเป็นอาจารย์สอนที่มหาวิทยาลัย หันมายึดอาชีพเป็นเกษตรกรเสียเอง ทั้งนี้ เพราะท่านมีความรักและสนใจอาชีพการเกษตร ประกอบกับท่านอยากจะช่วยเหลือเกษตรกรพี่น้องของท่านที่ยังยากจนและขาดความรู้ทางด้านการพัฒนาเกษตรแผนใหม่ เพื่อพัฒนาให้ทันต่อสถานการณ์ของโลก ท่านได้พัฒนาฟาร์มของท่านเพื่อให้เป็นตัวอย่างแก่เกษตรกรรอบๆ ฟาร์ม โดยเริ่มพัฒนาจากสิ่งที่มีอยู่และหาได้ในท้องถิ่น แม้แต่โครงของโรงเรือนปลูกผักก็ทำด้วยไม้ไผ่ แต่ท่านก็สามารถได้มาตรฐาน UREPGAP ท่านเพาะปลูกพืชผัก ทั้งผักกินใบและผักกินผล รวมทั้งสิ้น 89 ชนิด โดยเน้นพืชผักที่เก็บเกี่ยวเมื่อมีอายุน้อยๆ และพืชผักที่มีขนาดเล็กที่เรียกว่า "เบบี้" (baby vegetable) มีเกษตรกรที่อยู่ในเครือ (Contract farmer) ของท่าน จำนวน 12 ครอบครัว โดยแต่ละครอบครัวมีพื้นที่เพาะปลูกผัก ครอบครัวละ 2 เฮกตาร์ หรือประมาณ 12 ไร่เศษ ผลิตผักต่างๆ ได้สัปดาห์ละ 5 ตัน เมล็ดพันธุ์ผักส่วนใหญ่นำเข้าจากประเทศไทยและประเทศต่างๆ ทางยุโรป เช่น ฮอลแลนด์ และฝรั่งเศส เป็นต้น

    เมื่อเมล็ดพันธุ์ดีต้องนำเข้าจากต่างประเทศ จึงมีราคาแพงมากอย่างชนิดที่เรียกว่า นับเมล็ดขาย ดังนั้น ดร.ฮุง และเกษตรกรเวียดนามทั่วไปในเมืองดาลัต จึงใช้เมล็ดพันธุ์อย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยใช้วิธีการตกกล้าลงในกระบะเพาะที่เป็นหลุม หลุมละ 1 เมล็ด แตกต่างจากเกษตรกรไทยของเรามาก แม้จะรู้ว่าเมล็ดพันธุ์ที่ซื้อมาแพงแต่กลับไม่สนใจแก้ปัญหา ยังคงใช้วิธีเพาะเมล็ดพันธุ์โดยการหว่านเมล็ดพันธุ์ลงในแปลงกล้า ซึ่งจะได้ต้นกล้าที่มีคุณภาพดีน้อย และมีความเสียหายค่อนข้างมาก ทั้งนี้ เพราะต้นกล้าส่วนหนึ่งจะถูกทำลายโดยด้วงหมัดผัก ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญมากของผักทุกชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะกล้า และเมื่อย้ายไปปลูกในแปลงปลูกต้นกล้าก็จะช้ำ หรือเหี่ยวเฉาหรือบางต้นอาจเน่าตายไปเลย ทำให้เกษตรกรไทยมีต้นทุนในการเพาะปลูกผักที่สูงมาก

    ก่อนที่จะไปถึงการปลูกผักไร้ดินบนต้นกล้วย ใคร่ขอกล่าวถึงการเตรียมหรือการเพาะต้นกล้าเสียก่อน

    เกษตรกรเวียดนามขยันและประณีตมาก ในเรื่องของดินหรืออาจจะเรียกปุ๋ยหมักสำหรับเพาะกล้าก็ว่าได้ เพราะดินเพาะกล้าเป็นดินที่ได้จากการหมักมูลสัตว์ผสมกับเศษพืชผักที่เหลือจากการเก็บเกี่ยว ขุยมะพร้าวหรือขี้เลื้อย และหรือเศษวัสดุอื่นๆ หมักจนได้ที่แล้วจึงนำมาร่อนด้วยตะแกรงที่มีรูขนาดประมาณ 3-5 มิลลิเมตร หรืออาจจะใหญ่กว่า เพื่อแยกเอาเศษวัสดุที่มีขนาดใหญ่ออก หรืออาจแยกโดยลักษณะคล้ายๆ กับการแยกกรวดออกจากทรายที่ใช้ในการฉาบปูนสำหรับก่อสร้างก็ได้ แล้วจึงนำดินปลูกที่ได้มาใส่ในกระบะโฟมหรือพลาสติคที่มีขายโดยทั่วไป และใช้เครื่องอัดดินที่เกษตรกรคิดดัดแปลงทำขึ้นเอง มีลักษณะการทำงานคล้ายกับตะแกรงปิ้งปลา โดยทำหัวกดที่เป็นทองเหลืองยึดติดอยู่กับแผงไม้ ตามจำนวนรูหรือช่องของกระบะเพาะ

    จากนั้นจึงใส่กระบะที่ได้ใส่ดินเพาะที่มีความชื้นที่เหมาะสมแล้ว ลงให้เข้ากับล็อคที่เกษตรกรได้ตั้งไว้แล้ว ซึ่งช่องของกระบะจะตรงกับหัวกดหรือแผ่นกดพอดี และเมื่อกดแท่นหัวอัดลงในกระบะ ดินที่อยู่ในช่องกระบะก็จะถูกกดลงในช่อง โดยการกดต้องไม่กดอัดให้ดินปลูกแน่นจนเกินไป แล้วจึงนำกระบะที่กดดินแล้วออก ก็จะเห็นว่าดินปลูกในกระบะถูกอัดแน่นและมีรูเล็กๆ สำหรับหยอดเมล็ดพันธุ์ผักลงไป เนื่องจากหัวกดทองเหลืองนี้จะมีปุ่มเล็กๆ คล้ายหัวนมอยู่ตรงปลายด้วย จากนั้นจึงนำเมล็ดพันธุ์ผักหยอดลงในรูเล็กๆ ในแต่ละช่องของกระบะ รูละ 1 เมล็ด ซึ่งต้องใช้ความอดทนและความพยายามสูงมาก เมื่อหยอดจนครบทุกช่องแล้ว จึงนำดินปลูกมาโรยปิดหน้าอีกครั้ง เพื่อป้องกันเมล็ดพันธุ์กระเด็นหรือลอยเมื่อรดน้ำ หลังจากนั้นจึงนำกระบะที่หยอดเมล็ดพันธุ์แล้วไปวางเรียงไว้บนชั้นที่ยกเหนือพื้นดินประมาณ 80 เซนติเมตร ในโรงเรือน ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความเสียหายจากการทำลายของแมลงศัตรูพืชที่อาจจะกระโดดขึ้นมาที่กระบะเพาะกล้าได้ จากนั้นจึงให้น้ำตามปกติ โดยลักษณะของการให้น้ำต้องเป็นละอองฝอยขนาดเล็ก หากมีละอองฝอยขนาดใหญ่ เมล็ดพันธุ์หรือต้นกล้าที่งอกอาจจะเสียหาย เนื่องจากแรงกระแทกของน้ำได้ และเมื่อต้นกล้าผักเจริญเติบโตมีใบประมาณ 3-4 ใบ จึงนำออกจากกระบะเพาะโดยการให้น้ำก่อนแล้วจึงค่อยๆ เคาะออก ต้นกล้าก็จะหลุดออกมามีลักษณะเป็นแท่งตามรูปทรงของรูในกระบะเพาะ จากนั้นจึงนำไปปลูกในแปลงปลูก วิธีนี้แม้ว่าจะใช้เวลามากแต่เกษตรกรสามารถประหยัดค่าเมล็ดพันธุ์ได้เป็นอันมาก และต้นกล้าแข็งแรง ไม่ชะงักหรือเหี่ยวเฉาเมื่อเคลื่อนย้ายลงแปลงปลูก และยังป้องกันความเสียหายของต้นกล้าพันธุ์จากด้วงหมัดผักด้วย

    สำหรับการปลูกผักไร้ดินบนต้นกล้วย ไม่ได้ยากเย็นอะไรเลย วิธีนี้เป็นงานทดลองของ ดร.ฮุง กับหุ้นส่วนของท่าน โดยปกติแล้วเกษตรกรจะตัดต้นกล้วยทิ้งทุกครั้งที่ตัดเครือ กล้วยที่แก่แล้วออก แต่ ดร.ฮุง เห็นว่าเป็นการสูญเสียไปเปล่าๆ โดยที่ไม่ได้อะไร ดังนั้น เมื่อตัดเครือกล้วยแล้ว (จะเป็นกล้วยน้ำว้าหรือกล้วยอะไรก็ได้) ท่านจึงได้เจาะรูที่ต้นกล้วยในลักษณะทแยงลงไป ให้รูมีขนาดเท่ากับแท่งดินที่ยึดรากต้นกล้าที่ย้ายมาจากกระบะเพาะ จากนั้นจึงเอาต้นกล้า (ผักสลัด) ยัดใส่ลงไปในรูของต้นกล้วยที่เจาะไว้ โดยจำนวนรูที่จะเจาะหรือจำนวนผักที่จะปลูกมากหรือน้อย ไม่สามารถบอกได้ ท่านให้ดูขนาดของต้นกล้วยว่าใหญ่หรือเล็ก จากนั้นก็ไม่ต้องรดน้ำให้ผักที่ปลูก หรือรดน้ำให้ต้นกล้วยแต่อย่างใด จะทำเพียงอย่างเดียวคือ คอยค้ำยันไม่ให้ต้นกล้วยล้มเท่านั้น

    หลังจากนั้น ประมาณ 30 วัน (ขึ้นอยู่กับอายุของผักที่ปลูก) ก็เก็บเกี่ยวผักไปขายได้เลย ท่านบอกว่าผักสลัดที่ท่านทดลองปลูกมีรสชาติดีมาก หวาน และกรอบ ใบเป็นเงางาม ทั้งนี้ เป็นเพราะต้นกล้วยมีธาตุโพแทสเซียมสูงนั่นเอง วิธีนี้เกษตรกรท่านใดจะเอาไปทดลองปลูกก็ได้ แต่อายุผักที่ปลูกไม่ควรจะยาวนานเกิน 40 วัน เพราะต้นกล้วยจะโทรมและเหี่ยวแห้งตายเสียก่อน ผักที่ปลูกควรเป็นผักกินใบที่ไม่ต้องการแสงแดดที่แรงมากนัก เพราะใบของกล้วยจะช่วยพรางแสงแดดได้บางส่วน

    ลองคิดนอกกรอบดูบ้างก็ได้ ไม่ผิดกติกาแต่ประการใดครับ


    [/FONT]
     

แชร์หน้านี้

Loading...