ผักและเห็ดที่เป็นพิษ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย piakgear24, 16 กุมภาพันธ์ 2007.

  1. เทพ

    เทพ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    275
    ค่าพลัง:
    +3,099
    รางจืดที่บ้านผม มีพอสมควรครับ ปลูกมาหลายปี ปลุกไม่ยากครับ ตัดๆมาปักชำก็ขึ้นได้ จะมีสองชนิด คือ ดอกสีม่วง กับดอกสีขาว สรรพคุณของดอกสีขาวจะแรงกว่า

    ส่วนที่สรรพคุณจะดีกว่ารางจืด คือ ต้นย่านาง ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น หมอหลวงจะมีไม้เท้าทำจากต้นย่านางแดง ถือว่าเป็นไม้เท้าอาญาสิทธิ์ เป็นเอกลักษณ์พิเศษของหมอหลวง... ในยามฉุกเฉินจะใช้ฝนทำยาแก้พิษต่างๆ

    ต้นย่านางจะมี ย่านางแดง กับ ย่านางเขียว สรรพคุณของย่านางแดงจะดีกว่า

    แต่ต้นย่านางโตช้ามาก ผมปลูกมาหลายปี ต้นยังหนาไม่ถึงนิ้วก้อยเลย ( ส่วนใหญ่เจ้าของจะหวงเพราะโตช้า หลายๆที่ปลุกแล้วก็ไม่ยอมติดป้าย หรือ ติดป้ายก็จะติดโดยใช้ชื่ออื่น ไม่ให้คนทั่วไปรู้ .... แต่จริงๆต้นนี้ดูง่ายมาก เห็นแวบเดียวก็จำได้ )
     
  2. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    ถ้าบอกว่ารางจืดของจริงผมไม่เคยเห็นครับ แต่ถ้าย่านางผมเคยเห็นและคุ้นเคยดีครับ คนอีสานนิยมนำมาใบมาคั้นใส่แกงหน่อไม้ครับ ที่บ้านนอกก็ปลูกไว้ 1ต้น หลายสิบปีแล้วตั้งแต่ผมยังเด็กๆอยู่ครับ อายุต้นนี้ก็น่าจะพอๆกับผมครับ เลยนึกขึ้นมาได้ว่าต้นชนิดนี้เขาหวงกันมากขนาดนี้เชียว แต่ตามบ้านนอกเขาก็มีกันเกือบทุกบ้านครับ
     
  3. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top rowSpan=4><CENTER>[​IMG]
    < รูปภาพที่เกี่ยวข้อง ></CENTER>


    </TD><TD id=HeadName>มะเกลือ </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD id=ScienceName>Diospyros mollis Griff. </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD id=HeadName>วงศ์ Ebenaceae </TD></TR><TR><TD>ผีเผา (เงี้ยว-ภาคเหนือ); มะเกลือ (ภาคกลาง); มักเกลือ (เขมร-ตราด); Ebony Tree.</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <HR align=center width="98%" SIZE=1><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width=130>ลักษณะของพืช</TD><TD>ไม้ต้นขนาดกลาง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม กิ่งอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป เปลือกนอกสีดำ แตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ตามยาว ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมขอบขนาน โคนใบมนหรือกลม ส่วนปลายใบสอบ ใบแก่เกลี้ยงเมื่อแห้งเป็นสีดำ ดอกเป็นช่อสั้นๆ ตามง่ามใบ กลีบรองดอกโคนเชื่อมติดกัน ปแลายแยกเป็น 4 แฉก ผลกลมเกลี้ยง มีกลีบรองดอกติดอยู่ที่ขั้วผล ผลแก่จัดสีดำ เมื่อแห้งเปลือกเปราะ</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130 height=21>ส่วนที่เป็นพิษ</TD><TD>ผลดิบ </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>สารพิษที่พบ</TD><TD>diospyrol </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การเกิดพิษ</TD><TD>เมื่อรับประทานผลมะเกลือที่มีผิวสีดำแล้วจะเกิดอาการ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสียอย่างรุนแรง ตาพร่ามัว อ่อนเพลีย และตาบอดในที่สุด มีรายงานว่าคนไข้รับประทานน้ำคั้นจากผลมะเกลือประมาณ 17 ซม. จะมีอาการทางตาคือ รูท่านตาขยายทั้งสองข้าง ไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นการฝ่อของประสาทอ็อฟติค ทำให้ตาบอดทั้งสองข้าง</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การรักษา</TD><TD>รักษาตามอาการ ให้โซเดียมไบคาร์บอเนต 5 กรัมทุก 4-6 ชั่วโมง เพื่อช่วยให้สาร naphthalene ถูกขับถ่ายเร็วขึ้น และให้เด็กซาเมธาโซนร่วมกับยาขยายหลอดเลือดและวิตามินบีรวม จากนั้น จึงให้รับประทานเพร็คนิโสโลน ป้งกันการอักเสบของเส้นประสาทและเนื้อเยื่อของเรตินาใน 2-3 วัน หลังจากนี้รูม่านตาก็เริ่มมีปฏิกิริยาต่อแสงการเห็นจะเริ่มดีขึ้น</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การทดสอบความเป็นพิษ</TD><TD>เมื่อป้อนสารสกัดผลมะเกลือด้วยเอธานอล 95% ให้หนูถีบจักร ขนาดที่ทำให้สัตว์ทดลองตายร้อยละ 50 คือ 2.56 ก./กก. และเมื่อให้น้ำคั้นผลมะเกลือแก่กระต่ายขนาด 14 มล./กก. พบว่าเป็นพิษต่อกระต่าย</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>ที่มาของข้อมูล</TD><TD>1. รุ่งระวี เต็มศิริฤกษ์กุล "พืชพิษและพืชเสพติด" ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล หน้า 11.

    ที่มา


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://webdb.dmsc.moph.go.th/poison/Detail.asp?id=134&Temp=0
     
  4. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    <TABLE cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.75pt; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; PADDING-TOP: 0.75pt">[​IMG]
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.75pt; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; PADDING-TOP: 0.75pt"><FORM>
    [​IMG]
    <SELECT name=dest> <OPTION value=../pubhealth/diospy.html#Topic_bot selected>ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์<OPTION value=../pubhealth/diospy.html#Topic_sci>หลักฐานทางวิทยาศาสตร์<OPTION value=../pubhealth/diospy.html#Topic_cure>การใช้ มะเกลือรักษาโรคพยาธิ<OPTION value=../pubhealth/diospy.html#Topic_ref>เอกสารอ้างอิง</OPTION><INPUT onclick=surfto(this.form) type=button value=Go!> </SELECT>
    </FORM></TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG]ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์

    <TABLE style="MARGIN-LEFT: 36pt; WIDTH: 90%" cellSpacing=5 cellPadding=0 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.75pt; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; PADDING-TOP: 0.75pt" vAlign=top>ชื่อวิทยาศาสตร์
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.75pt; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; PADDING-TOP: 0.75pt" vAlign=top>Diospyros mollis Griff.
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.75pt; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; PADDING-TOP: 0.75pt" vAlign=top>ชื่อวงศ์
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.75pt; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; PADDING-TOP: 0.75pt" vAlign=top>Ebenaceae
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.75pt; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; PADDING-TOP: 0.75pt" vAlign=top>ชื่ออังกฤษ
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.75pt; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; PADDING-TOP: 0.75pt" vAlign=top>Ebony tree
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.75pt; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; PADDING-TOP: 0.75pt" vAlign=top>ชื่อท้องถิ่น
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 0.75pt; PADDING-LEFT: 0.75pt; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; PADDING-TOP: 0.75pt" vAlign=top>มักเกลือ ผีเผา
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    [​IMG]หลักฐานทางวิทยาศาสตร์
    1. ฤทธิ์ขับพยาธิ
    ผลมะเกลือมีฤทธิ์ขับพยาธิ Toxicara canis และ Ancyclostoma canium ในสุนัข แต่สารสกัดไม่ให้ผลต่อพยาธิทั้ง 2 และผลมะเกลือสด ในขนาด 1.9 กรัม/กิโลกรัม ไม่ให้ผลไม่สามารถขับพยาธิ Schistosoma masoni และ Hymenolepus nana ในหนูถีบจักร (1) แต่ในการทดลองให้น้ำคั้นผลมะเกลือสดแก่สุนัข จำนวน 80 มล. โดยให้ทางท่อสอดถึงกระเพาะอาหาร พบว่าถ้าใช้มะเกลือชนิดผลแบนใหญ่สีเขียวนวล สามารถขับพยาธิปากขอได้ 61.9
     
  5. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    <TABLE height=417 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=606 align=center border=0><TBODY><TR><TD class=ms9 vAlign=top align=right width=100 height=401>
    [​IMG]
    </TD><TD class=ms9 align=left width=10>[​IMG]</TD><TD class=ms vAlign=top align=left width=465><TABLE height=317 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" align=center bgColor=#ccffe0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#7ac388 height=315><TABLE class=ms cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left>ขมิ้นเครือ
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width="22%" height=21>
    ชื่อวิทยาศาสตร์
    </TD><TD width="2%">
    :
    </TD><TD width="76%">
    Kreangelisia flava Linn.
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD height=18>
    ชื่อวงศ์
    </TD><TD>
    :
    </TD><TD>
    MENISPERMACEAE
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD height=31>
    ชื่ออื่นๆ
    </TD><TD>
    :
    </TD><TD>
    ขมิ้นฤาษี ผ้าร้ายห่อทอง เดิมวอโกรด (เขมร)

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD height=16> </TD><TD> </TD><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left height=164><TABLE width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD vAlign=top align=left width="32%">ลักษณะทั่วไป</TD><TD width="68%">
    ขมิ้นเครือ เป็นไม้เถาพาดพันตามต้นไม้ใหญ่ เถากลมเปลือกชุ่มน้ำ ผิวสีน้ำตาลเหลือง เนื้อไม้สีเหลือง มีเส้นรัศมีออกโดยรอบ กลิ่นเหม็นคล้ายขมิ้น
    ใบ รูปหอกกว้าง ปลายเรียวแหลมเนื้อหนาสีเขียวมัน ลักษณะคล้ายใบโพธิ์ รากและเถา สีเหลืองเข้มเหมือนขมิ้น เนื้อในเถาและรากตัดออกจะเห็นจุดกลางเป็นเส้นรัศมีแผ่ออกโดยรอบ การขยายพันธุ์ โดยการตัดเอาเถาตรงข้อมาปักชำ หรือแยกต้นเล็กๆ ปลูก
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD vAlign=top align=left>นิเวศวิทยาและการแพร่กระจาย</TD><TD>เกิดตามป่าดงดิบเขาและป่าเบญจพรรณทั่วไป</TD></TR><TR vAlign=top><TD vAlign=top align=left height=102>ประโยชน์</TD><TD>สรรพคุณทางด้านสมุนไพร ขับโลหิตระดูที่เสียเป็นลิ่ม เป็นก้อนให้ออกมา ขับน้ำคาวปลา ดอก แก้บิดมูกเลือด เถา แก้ดีพิการ ขับผายลม ทำให้เรอ แก้ท้องเสีย ราก บำรุงน้ำเหลือง แก้ริดสีดวงตา ตาอักเสบ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    ที่มา
    http://www.nstrc.rmutsv.ac.th/Oncampus_source/herbal/b1-4.htm
     
  6. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top rowSpan=4><CENTER>[​IMG]
    < รูปภาพที่เกี่ยวข้อง ></CENTER>

    </TD><TD id=HeadName>ขมิ้นเครือ </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD id=ScienceName>Anamirta cocculus Wight & Arn. </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD id=HeadName>วงศ์ Menispermaceae </TD></TR><TR><TD>ขมิ้นเครือ [ภาคเหนือ]; จุ๊มร่วมพนม (ชอง-จันทบุรี); เถาวัลย์ทอง [ประจวบคีรีขันธ์]; พนม , อมพนม (ชลบุรี); แม่น้ำนอง (เชียงใหม่); ว่านนางล้อม [แพร่]; วาร์ลำลงพนม (เขมร-ปราจีนบุรี); หวายดิน [สระบุรี]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <HR align=center width="98%" SIZE=1><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width=130>ลักษณะของพืช</TD><TD>ไม้เถา เลื้อย เนื้อแข็ง ใบรูปไข่มีขนาดใหญ่ สีเขียวสด ดอกขนาดเล็ก ออกเป็นช่อ ผลเมื่อสุกมีสีแดง เมล็ดสีดำมันขนาดเท่าเมล็ดพริกไทยติดกันเป็นพวง </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130 height=21>ส่วนที่เป็นพิษ</TD><TD>ผล </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>สารพิษที่พบ</TD><TD>picrotoxin , cocculin , anamirtin ในเปลือกผลมี menispermine และ paramenispemine alkaloids </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การเกิดพิษ</TD><TD>หากกินพืชนี้จะทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ มีไข้ ชัก และตายเนื่องจากหัวใจหยุดเต้น lethal dose ของ picrotoxin 20 มก.

    หมายเหตุ
    เมล็ดใช้เบื่อปลา
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การรักษา</TD><TD>-</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การทดสอบความเป็นพิษ</TD><TD>เมื่อฉีดสารสกัดของส่วนเหนือดินด้วยแอลกอฮอล์ : น้ำ (1:1) เข้าช่องท้องหนูถีบจักรขนาดที่ทำให้สัตว์ทดลองตายร้อยละ 50 คือ 125 มก./กก.</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>ที่มาของข้อมูลhttp://webdb.dmsc.moph.go.th/poison/Detail.asp?id=39&Temp=0</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. เทพ

    เทพ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    275
    ค่าพลัง:
    +3,099
    ความยากง่าย ของการหาสมุนไพรตามธรรมชาติ ขึ้นกับท้องถิ่น สมุนไพรบางชนิดมีในแหล่งหนึ่งมาก แต่ในแหล่งอื่นอาจหาได้ยาก หรือไม่มีเลย

    ซึ่งถ้าหากมองย้อนกลับไปจะเกี่ยวเนื่องกับชีวิตการเป็นอยู่ของชุมชนแห่งนั้น ว่ามีชีวิตประจำวันอย่างไร โรคหรือการเจ็บป่วยในท้องถิ่น ก็จะทำให้มีการปลุกสมุนไพรในกลุ่มนั้นมาก เมื่อปลูกแล้วก็จะมีการขยายพันธ์กันต่อไปในแถบนั้น หรือ อาจเกิดขยายพันธ์เองโดยธรรมชาติ เช่น เหตุการณ์จริง คือ เพื่อนบ้านผมมีปลุกต้นฟ้าทะลายโจร ทำให้เกิดต้นฟ้าทะลายโจรมาขึ้นในบ้านผมด้วย ตอนหลังเพื่อนบ้านเค้าถอนทิ้งหมด แต่บ้านผมก็ยังมีคงเหลืออยู่

    ดังนั้นวิธีหนึ่งของการปลุกสมุนไพร นอกจากปลุกในบ้านก็คือการปลุกฝากไว้กับธรรมชาติ เช่น ตามยอดเขา หรือ พื้นที่ว่างเปล่าบางแห่ง ให้เติบโตไปตามธรรมชาติ แต่เมื่อถึงเวลาใช้งานก็ยังมีพันธืหลงเหลือให้เรานำมาเป็นยาได้ ... ถ้าเพื่อนๆเล็งว่าสถานที่ใดที่เราจะใช้เป็นที่หลบภัย ก็ควรจะปลูกสมุนไพรที่เราต้องการทิ้งๆไว้ในธรรมชาติบ้าง บนภูเขาหรือใกล้วัดหลายๆแห่งก็เห็นมีที่รกร้างเยอะแยะ เจ้าของไม่ได้ใช้ประโยชน์ ... ปลุกฝากไว้กับธรรมชาติไว้เป็นเชื้อ

    กรณีต้นย่านาง เนื่องจากคนอีสานนิยมทานหน่อไม้ จึงมีการปลุกมากกว่าภาคอื่น แต่เกือบทั้งหมดจะเป็นย่านางเขียว ซึ่งใช้ในการต้มหน่อไม้ปรุงอาหารเป็นหลัก เพื่อฆ่าฤทธิ์ของหน่อไม้ แต่ในทางการรักษาโรคจะใช้ย่านางแดง เดิมจะหากันในป่า ในปัจจุบันส่วนใหญ่จะนำเข้ามาจากประเทศลาวเพราะลาวยังมีป่าที่สมบูรณ์

    ในกรณีที่หวงหรือไม่หวง จึงขึ้นกับว่าแถบนั้นหายากหรือง่าย ตามสวนสมุนไพรที่หวงกันก็เพราะมีการปลุกไม่มาก และโตช้า คือปลูกไว้เป็นตัวอย่างเท่านั้น แต่คนพอเห็นชื่อแล้วชอบเด็ดหรือตัดเอาไป

    สำหรับกรณีเตรียมเพื่อภัยพิบัติ แนะนำให้ซื้อที่ขายเป็นท่อนๆจะดีกว่าไปนั่งปลุกเอง ท่อนเล็กๆก็ประมาณ 20-50 บาทเอาติดกระเป๋าไว้ใช้ฝนกับน้ำดื่มในยามฉุกเฉิน ซื้อได้ทั่วไปในงานแสดงสมุนไพรต่างๆ ...หรือจะซื้อจากร้านขายยาให้เขาบดละเอียดแล้วใส่แคปซูลมาเลยก็ได้จะราคาถูกกว่าที่ขายบรรจุขวดสำเร็จรูปทั่วไปมาก ...แต่อย่าไปซื้อแบบที่เขาบดสำเร็จใส่ถุงขายเพราะจะมีการผสมแป้งปนจำนวนมาก ร้านยาในกรุงเทพแม้แต่ร้านใหญ่ๆก็ทำกัน ขายแบบบดแล้วถุงใหญ่ๆดูเหมือนราคาถูก แต่กลายเป็นมีแป้งจำนวนมาก ...

    ส่วนรางจืด ปลุกง่ายครับ เอาไปปักชำก็ขึ้น ถ้าโอกาสเหมาะๆ และมีคนสนใจ เดี๋ยวจะตัดไปแจกเพื่อนๆที่นัดประชุมกันที่สวนลุมครับ
     
  8. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top rowSpan=4><CENTER>[​IMG]
    < รูปภาพที่เกี่ยวข้อง ></CENTER>


    </TD><TD id=HeadName>ละหุ่ง </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD id=ScienceName>Ricinus communis L. </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD id=HeadName>วงศ์ Euphorbiaceae<SUP>1</SUP> </TD></TR><TR><TD>คิติ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); คีเต๊าะ (กะเหรี่ยง-กำแพงเพชร); บีมัว (จีน); มะละหุ่ง; มะโห่ง , มะโห่งหิน (ภาคเหนือ); ละหุ่งแดง (ภาคกลาง); Castor Bean, Palma Christi Castor Oil Plant.</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <HR align=center width="98%" SIZE=1><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width=130>ลักษณะของพืช</TD><TD>ไม้พุ่ม ที่มีอายุได้หลายปี มีทั้งละหุ่งขาวซึ่งลำต้นเป็นสีเขียว และละหุ่งแดงลำต้นและก้านใบเป็นสีแดง ใบเป็นใบเดี่ยว ใบจะจักแหลม ขอบใบเว้าคล้ายกับฝ่ามือเป็นแผ่นกว้าง ดอกออกเป็นช่อตรงส่วนยอดของต้น หรือตรงง่ามใบ ดอกเป็นสีแดง ผลมี 3 พูและมีหนาม ภายในผลจะมีเมล็ดซึ่งเปลือกเมล็ดนี้จะเป็นจุดสีน้ำตาลอมเทา เนื้อในสีขาว</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130 height=21>ส่วนที่เป็นพิษ</TD><TD>ทุกส่วนโดยเฉพาะเมล็ด </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>สารพิษที่พบ</TD><TD>ricin </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การเกิดพิษ</TD><TD>หากกินเมล็ดจะเกิดอาการแสบร้อนในปาก คอ อย่างรุนรอง มีอาการอักเสบของทางเดินอาการ อาจถ่ายเป็นเลือด ปวดศีรษะ มึนงง ซึมเศร้า ตับและไตถูกทำลาย รายที่อาการพิษรุนแรง จะทำให้คลื่นหัวใจเปลี่ยน ความดันโลหิตลดลง ระบบไหลเวียนเลือดล้มเหลว อาจถึงแก่ชีวิต</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การรักษา</TD><TD>รีบนำส่งโรงพยาบาล เพื่อล้างท้องทันที ให้น้ำเกลือเพื่อรักษาสมดุลของน้ำและอิเลคโตรไลท์ในร่างกาย หลังจากนั้นรักษาตามอาการ</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การทดสอบความเป็นพิษ</TD><TD>สาร ricin ขนาดที่ทำให้หนูตายร้อยละ 50 เท่ากับ 60 นาโนกรัม ในหนูถีบจักร เมื่อให้ทางปาก หากกินเมล็ด 10-20 เมล็ด ในผู้ใหญ่ และ 5-6 เมล็ด ในเด็กจะทำให้ตายภายใน 46 ชั่วโมงถึง 8 วัน</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>ที่มาของข้อมูล</TD><TD>-</TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://webdb.dmsc.moph.go.th/poison/Detail.asp?id=243&Temp=0
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 กุมภาพันธ์ 2007
  9. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top rowSpan=4><CENTER>[​IMG]
    < รูปภาพที่เกี่ยวข้อง ></CENTER>
    </TD><TD id=HeadName>หญ้างวงช้าง </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD id=ScienceName>Heliotropium indicum R. Br. </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD id=HeadName>วงศ์ Boraginaceae </TD></TR><TR><TD>กุนอกาโม (มาลายู-ปัตตานี); ผักแพวขาว (กาญจนบุรี); หญ้างวงช้าง (ทั่วไป); หญ้างวงช้างน้อย (ภาคเหนือ)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <HR align=center width="98%" SIZE=1>
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width=130>ลักษณะของพืช</TD><TD> เป็นไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ลำต้นอวบเขียวอ่อนมีขนสีขาวปกคลุมหนาแน่นทั้งต้นและใบ ใบเดี่ยวรูปไข่ปลายแหลม ผิวสากขรุขระ ดอกเล็กสีขาวหรือสีฟ้าเป็นช่อม้วนเหมือนงวงช้าง ดอกเรียงเป็นแถวด้านเดียว ผลรูปไข่ขนาดเล็ก เกิดตามที่รกร้างว่างเปล่าทั่วไป ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130 height=21>ส่วนที่เป็นพิษ</TD><TD> ทั้งต้น </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>สารพิษที่พบ</TD><TD> pyrrolizidine alkaloids ได้แก่ heliotrine indicine และ supinine </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การเกิดพิษ</TD><TD> heliotrine เป็นพิษต่อตับ แม้ได้รับเพียงครั้งเดียวก็สามารถก่อให้เกิดการทำลายเซลล์ตับแบบเรื้อรังได้</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การรักษา</TD><TD> -</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การทดสอบความเป็นพิษ</TD><TD> มีรายงานการทดสอบความเป็นพิษในหนูขาวของสาร heliotrine พบว่า MLD<SUB>50 </SUB>เท่ากับ 300 มก./กก. ทั้งนี้มีรายงานการทดลองใช้สาร pyrrolizidine alkaloids ในหนูขาว ในขนาด 0.1 (ขนาด 10% ของปริมาณที่ให้แล้วทำให้หนูทดลองตายเป็นจำนวนร้อยละ 50) โดยให้ 2 ครั้งต่อสัปดาห์ พบว่าทำให้เกิดการเป็นพิษต่อตับแบบเรื้อรังและทำให้หนูตายภายใน 6 เดือน</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>ที่มาของข้อมูล</TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://webdb.dmsc.moph.go.th/poison/Detail.asp?id=93&Temp=0
     
  10. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    <TABLE><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]

    1. เห็ดไข่เป็ด หรือเห็ดระโงกหิน : Amanita virosa (Destroying Angel)
    <DD>พบบนพื้นดินในป่าไม้เบญจพรรณและป่าก่อทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
    <DD> เป็นเห็ดพิษร้ายแรงถึงตาย</DD></TD><TD vAlign=top>
    [​IMG]

    2. เห็ดไข่ตายซาก, เห็ดระโงกหิน : Amanita verna (Fools's mushroom)
    <DD>พบเป็นดอกเดี่ยวทางภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อรับประทานแล้วจะปวดท้อง อาเจียน ตับถูกทำลาย และตายในที่สุด </DD>​
    </TD><TR><TD colSpan=2> </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]

    3. เห็ดเกล็ดดาว: Amanita pantherina (Panther Cap) <DD>พบเป็นดอกเดี่ยวๆบนพื้นดินในป่าสนทางภาคเหนือ มีพิษร้ายแรงต่อระบบประสาทถึงตาย </DD></TD><TD>
    [​IMG]

    4. เห็ดระโงกหิน : Amanita phalloides (Death Cap) <DD>พบเจริญเติบโตได้ดีใต้ร่มไม้ใบกว้างขนาดใหญ่ มีพิษร้ายแรง </DD>​
    </TD><TR><TD colSpan=2> </TD></TR><TR><TD colSpan=2>
    [​IMG]

    5. เห็ดหัวกรวดครีบเขียว, เห็ดกระโดงตีนต่ำ : Chlorophyllum molybdites (Meyer ex Fr.) Mass.​
    <DD> พบบนพื้นดิน ขึ้นตามสนามหญ้าและทุ่งนาทั่วทุกภาคในประเทศไทย มีพิษทำให้เกิดอาการมึนเมา คลื่นเหียนและอาเจียน </DD></TD></TR><TR><TD colSpan=2> </TD></TR><TR><TD colSpan=2><DD>โดยที่ 4 ตัวแรกอยู่ในสกุล Amanita ซึ่งเป็นกลุ่มที่สร้างสารพิษ Cyclopeptides ซึ่งทำลายเซลล์ของตับ ไต ระบบทางเดินอาหาร ระบบเลือด ระบบหายใจ และระบบสมอง ทำให้ถึงแก่ความตาย นับได้ว่าเป็นสารพิษในเห็ดที่ร้ายแรงที่สุด ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตภายใน 4-10 ชั่วโมง โดยที่การตรวจสอบเห็ดพิษแบบชาวบ้านส่วนใหญ่จะใช้ไม่ได้กับเห็ดพิษสกุล Amanita
    <DD>สำหรับเห็ดพิษตัวที่ 5 เป็นกลุ่มที่สร้างสารพิษ Gastrointestinal และสารพิษอื่นๆ สารพิษกลุ่มนี้ทำให้เกิดอาการกับระบบทางเดินอาหาร มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน และท้องร่วง ถ้าเด็กรับประทานเห็ดพิษกลุ่มนี้ในปริมาณที่มากก็อาจถึงตายได้ นอกจากนี้เห็ดพิษชนิดเดียวกันบางคนมีอาการแต่บางคนไม่มีอาการเมือ่รับประทานพร้อมกัน เห็ดพิษในกลุ่มนี้หลายชนิดเมื่อรับประทานดิบจะเป็นพิษ แต่ถ้าต้มสุกแล้วไม่เป็นอันตรายเพราะความร้อนทำให้สารพิษถูกทำลายหมดไป </DD></TD></TR></TBODY></TABLE>

    [SIZE=+2]
    ข้อแนะนำในการบริโภคเห็ดธรรมชาติและเห็ดป่า​
    [/SIZE] 1. อย่าบริโภคเห็ดสด
    2. หลีกเลียง เห็ดอ่อนสีน้ำตาลดอกเล็ก ๆ เพราะจำแนกยากและมีพิษมาก
    3. หลีกเลียง เห็ดอ่อนสีขาว เพราะจำแนกยาก เช่น เห็ดระโงก ที่มีพิษร้ายแรง
    4. ระมัดระวังการบริโภค
    - เห็ดที่มีวงแหวน
    - เห็ดที่มีปลอกหุ้มโคน
    - เห็ดที่โคนก้านป่อง ออกเป็นกระเปาะ
    - เห็ดที่มีเกล็ดบนหมวกดอก
    5. หลีกเลี่ยงเห็ดผึ้ง (มีรูอยู่ใต้หมวกดอก) ชนิดที่ปากรูสีแดง และเมื่อทดลองถูที่ผิวปากรู จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
    6. หลีกเลี่ยง เห็ดที่มีรูปร่าง คล้ายสมองและอานม้า
    7. ต้องผ่าเห็ดลูกฝุ่นเสมอเมื่อจะบริโภค เพราะอาจพบเห็ดกลุ่มอะมานิต้าที่เป็นพิษขณะเป็นเห็ดอ่อนได้ และหากข้างในเป็นสีดำอาจจะเป็นเห็ดพิษเอิร์ทบอลล์
    8. อย่าบริโภคเห็ดที่ขึ้นอยู่ใกล้มูลวัวควาย
    9. อย่าบริโภคเห็ดธรรมชาติ และเห็ดป่าพร้อมกับการดื่มเหล้า เพราะอาจทำให้เกิดอาการแพ้
    10. เด็กอ่อน คนแก่ และผู้ป่วย เป็นโรคเกี่ยวกับหัวใจ ปอด ไต และตับ ไม่ควรบริโภคเห็ดธรรมชาติและเห็ดป่า
    11. อย่าบังคับ หรือชวนคนไม่ชอบเห็ด หรือกลัวเห็ดให้บริโภคเห็ดป่า เพราะความกลัวอาจเป็นสาเหตุทำให้ผู้นั้นป่วยได้
    12. ถ้าเป็นเห็ดที่ไม่เคยพบหรือไม่แน่ใจว่าเป็นเห็ดที่รู้จักไม่ควรบริโภคเห็ดเหล่านั้นโดยเด็ดขาด เพราะอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต
    [SIZE=+2]เอกสารอ้างอิง: [/SIZE]
    1) ราชบัณฑิตยสถาน. 2539. เห็ดกินได้และเห็ดมีพิษในประเทศไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, กรุงเทพฯ.
    2) สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดแห่งประเทศไทย. 2543. เห็ดพิษ. กรุงเทพฯ.

    http://203.157.19.193/ncd/Mushroom.html
     
  11. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    <TABLE id=AutoNumber1 style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 height=1345 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=800 border=0><TBODY><TR><TD width=600 colSpan=3 height=43>
    เห็ดพิษ
    </TD><TD width=10 height=43> </TD><TD dir=rtl vAlign=top align=right width=185 colSpan=2 height=215 rowSpan=6>[​IMG]

    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD width=5 height=10></TD><TD width=220 height=10></TD><TD width=10 height=10></TD><TD width=370 height=10></TD><TD width=10 height=10></TD></TR><TR><TD width=5 height=41> </TD><TD align=right width=600 colSpan=3 height=41>นายประดิษฐ์ นิลแก้ว นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว</TD><TD width=10 height=41> </TD></TR><TR><TD width=5 height=41> </TD><TD width=220 height=41> </TD><TD width=10 height=41> </TD><TD width=370 height=41>
    ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดน่าน ( พืชสวน )​
    </TD><TD width=10 height=41> </TD></TR><TR><TD width=5 height=40> </TD><TD width=600 colSpan=3 height=207 rowSpan=8>ในช่วงฤดูฝนของทุกปี จะมีผู้ป่วยเสียชีวิตจาการรับประทานเห็ดพิษหรือเรียกว่าเห็ดเบื่อ โดยการที่เข้าไปเก็บเห็ดที่เกิดขึ้นเองในป่า หรือตามธรรมชาติมารับประทาน ด้วยความเข้าใจผิดในลักษณะรูปร่างของดอกเห็ดที่เคยเก็บไปรับประทาน หรือการเก็บเห็ดปะปนกันมาจากบริเวณที่เลยเก็บดอกเห็ดโดยไม่มีการคัดเลือก ซึ่งอาจมีทั้งเห็ดที่รับประทานได้ และเห็ดเบื่อ หรือเห็ดพิษ
    ข้อสังเกตในการดูว่าเห็ดชนิดใดเป็นพิษ ได้แก่ เห็ดจะมีลักษณะสวยงามเป็นพิเศษ จะไม่มีหนอน แมลง หรือหอยกัดกิน บางครั้งจะมีวงแหวนอยู่รอบก้านดอก บางชนิดจะมีลูกไม้เหมือนเห็ดใส่กระโปรงบาน ซึ่งในปัจจุบันนี้เห็ดพิษที่พบมากในเมืองไทย ได้แก่ เห็ดระโงกหิน เห็ดไข่ตายซาก เห็ดเกล็ดดาว เห็ดสมองวัว เห็ดโอสถลวงจิต (เห็ดขี้ควาย) เห็ดหัวกรวดครีบเขียว (เห็ดกระโดงตีนต่ำ) เห็ดกรวยเกล็ดทอง เห็ดไข่เน่า เป็นต้น
    </TD><TD width=10 height=40> </TD></TR><TR><TD width=5 height=40> </TD><TD width=10 height=40> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=10 height=20> </TD><TD width=180 bgColor=#c0c0c0 height=20>[​IMG]</TD><TD width=5 bgColor=#c0c0c0 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=19> </TD><TD width=10 height=19> </TD><TD width=180 height=19> </TD><TD width=5 height=19> </TD></TR><TR><TD width=5 height=22> </TD><TD width=10 height=22> </TD><TD vAlign=top width=180 height=180 rowSpan=8>* เห็ดพิษ
    * ข้อแนะนำการบริโภคเห็ดธรรมชาติและเห็ดป่า

    * ไผ่ชนิดต่างๆ
    * การปลูกผักสวนครัว
    * การปลูกไม้ผล
    * การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ

    * การผลิตอาหารให้ปลอดภัยด้วยเกษตรที่ดี
    * สาระน่ารู้ประจำเดือน
    * กิจกรรมประจำเดือน</TD><TD width=5 height=22> </TD></TR><TR><TD width=5 height=22> </TD><TD width=10 height=22> </TD><TD width=5 height=22> </TD></TR><TR><TD width=5 height=22> </TD><TD width=10 height=22> </TD><TD width=5 height=22> </TD></TR><TR><TD width=5 height=22> </TD><TD width=10 height=22> </TD><TD width=5 height=22> </TD></TR><TR><TD width=5 height=23> </TD><TD width=600 colSpan=3 height=238 rowSpan=9><TABLE id=AutoNumber2 style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 border=0><TBODY><TR><TD width=150>
    [​IMG]
    เห็ดระโงกหิน
    </TD><TD width=150>[​IMG]</TD><TD width=150>[​IMG]
    เห็ดเกล็ดดาว
    </TD><TD width=150>[​IMG]</TD></TR><TR><TD width=600 colSpan=4>
    เห็ดไข่ตายซาก,เห็ดระโงกหิน เห็ดไข่เป็ด,เห็ดระโงกหิน
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=10 height=23> </TD><TD width=5 height=23> </TD></TR><TR><TD width=5 height=23> </TD><TD width=10 height=23> </TD><TD width=5 height=23> </TD></TR><TR><TD width=5 height=23> </TD><TD width=10 height=23> </TD><TD width=5 height=23> </TD></TR><TR><TD width=5 height=23> </TD><TD width=10 height=23> </TD><TD width=5 height=23> </TD></TR><TR><TD width=5 height=30> </TD><TD width=190 colSpan=2 height=174 rowSpan=6>[​IMG]</TD><TD width=5 height=30> </TD></TR><TR><TD width=5 height=29> </TD><TD width=5 height=29> </TD></TR><TR><TD width=5 height=29> </TD><TD width=5 height=29> </TD></TR><TR><TD width=5 height=29> </TD><TD width=5 height=29> </TD></TR><TR><TD width=5 height=29> </TD><TD width=5 height=29> </TD></TR><TR><TD width=5 height=28> </TD><TD width=220 height=28> </TD><TD width=10 height=28> </TD><TD width=370 height=28> </TD><TD width=5 height=28> </TD></TR><TR><TD width=5 height=19> </TD><TD width=220 height=19> </TD><TD width=10 height=19> </TD><TD align=right width=560 colSpan=3 height=19>เห็ดหัวกรวดครีบเขียว,เห็ดกระโดงตีนต่ำ</TD><TD width=5 height=19> </TD></TR><TR><TD width=5 height=19> </TD><TD width=220 height=19> </TD><TD width=10 height=19> </TD><TD width=370 height=19> </TD><TD width=10 height=19> </TD><TD width=180 height=19> </TD><TD width=5 height=19> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=600 colSpan=3 height=20>
    การทดสอบเห็ดพิษแบบชาวบ้าน
    </TD><TD width=10 height=20> </TD><TD width=180 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=19> </TD><TD width=220 height=19> </TD><TD width=10 height=19> </TD><TD width=370 height=19> </TD><TD width=10 height=19> </TD><TD width=180 height=19> </TD><TD width=5 height=19> </TD></TR><TR><TD width=5 height=21> </TD><TD width=220 height=21> </TD><TD width=570 colSpan=4 height=325 rowSpan=16>วิธีการตรวจสอบเห็ดพิษแบบชาวบ้านต่อไปนี้ ถึงแม้จะไม่ถูกต้องนัก แต่ก็จัดว่าเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้าน ที่จะใช้ตรวจสอบว่าเห็ดชนิดไหนรับประทานได้ ชนิดไหนเป็นเห็ดพิษ ซึ่งจะนำมาใช้ได้เป็นบางส่วนหรือในบางโอกาส ดังต่อไปนี้

    1. นำข้าวสารมาต้มกับเห็ด ถ้าไม่เป็นพิษข้าวสารจะสุก ถ้าเป็นพิษข้าวสารจะสุกๆ ดิบๆ

    2. ใช้ช้อนเงินคนต้มเห็ด ถ้าช้อนเงินกลายเป็นสีดำ จะเป็นเห็ดพิษ
    3. ใช้ปูนกินหมากป้ายดอกเห็ด ถ้าเป็นเห็ดพิษจะกลายเป็นสีดำ
    4. ใช้หัวหอมต้มกับเห็ด ถ้าเป็นเห็ดพิษจะเป็นสีดำ
    5. ใช้มือถูเห็ดจนเป็นรอยแผล ถ้าเป็นพิษรอยแผลนั้นจะเป็นสีดำ แต่เห็ดแชมปิญญองเป็นเห็ดที่รับประทานได้ เมื่อเป็นแผลก็จะเป็นสีดำ
    6. ดอกเห็ดที่มีรอยแมลงและสัตว์กัดกิน เห็ดนั้นไม่เป็นพิษ แต่กระต่ายและหอยทากสามารถกินเห็ดพิษได้
    7. เห็ดที่เกิดผิดฤดูกาล มักจะเป็นพิษ แต่ในทุกวันนี้สามารถเพาะเห็ดได้ตลอดปี
    8. เห็ดพิษมักจะมีสีฉูดฉาด เห็ดรับประทานได้จะมีสีอ่อน
    </TD><TD width=5 height=21> </TD></TR><TR><TD width=5 height=21> </TD><TD width=220 height=21> </TD><TD width=5 height=21> </TD></TR><TR><TD width=5 height=21> </TD><TD width=220 height=21> </TD><TD width=5 height=21> </TD></TR><TR><TD width=5 height=21> </TD><TD width=220 height=21> </TD><TD width=5 height=21> </TD></TR><TR><TD width=5 height=21> </TD><TD width=220 height=21> </TD><TD width=5 height=21> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=220 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=220 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=220 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=220 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=220 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=220 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=220 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=220 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=220 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=220 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=220 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=19> </TD><TD width=600 colSpan=3 height=19> </TD><TD width=10 height=19> </TD><TD width=180 height=19> </TD><TD width=5 height=19> </TD></TR><TR><TD width=5 height=20> </TD><TD width=600 colSpan=3 height=20>การปฐมพยาบาลผู้ป่วยที่รับประทานเห็ดพิษ</TD><TD width=10 height=20> </TD><TD width=180 height=20> </TD><TD width=5 height=20> </TD></TR><TR><TD width=5 height=19> </TD><TD width=220 height=19> </TD><TD width=10 height=19> </TD><TD width=370 height=19> </TD><TD width=10 height=19> </TD><TD width=180 height=19> </TD><TD width=5 height=19> </TD></TR><TR><TD width=5 height=19> </TD><TD width=600 colSpan=3 height=76 rowSpan=4>หากพบผู้ป่วยที่รับประทานเห็ดพิษและเกิดอาการพิษขึ้น ควรทำให้ผู้ป่วยอาเจียนโดยเร็ว เพื่อเอาเศษอาหารที่ ตกค้าง ออกมาให้มากที่สุด หากผู้ป่วยอาเจียนออกยากให้ใช้เกลือแกง 3 ช้อนชา ผสมน้ำอุ่นดื่มจะทำให้อาเจียนได้ง่ายขึ้น แต่วิธีนี้ห้ามใช้กับเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ แล้วให้รีบนำผู้ป่วยส่งแพทย์โดยด่วน พร้อมกับตัวอย่างเห็ดพิษ (หากยังเหลืออยู่) เพื่อให้แพทย์รักษาต่อไป
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    ข้อมูลเห็ดพิษเท่าที่ผมรวบรวมได้ ได้เอาไปรวบรวมไว้ในระบบวิกีเสร็จแล้วครับ
    เพื่อนๆท่านใดมีข้อมูลเพิ่มเติมขอเชิญไปรวบรวมไว้ได้ตามลิงค์เห็ดพิษ

    เชิญแวะเข้าไปชมได้ครับ จะเป็นประโยชน์เมื่อใช้ชีวิตอยูในป่าเมื่อเราต้องกินเห็ดครับ
     
  13. ตลับนาค

    ตลับนาค เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    114
    ค่าพลัง:
    +1,497
    พอดีวันก่อนไปเจอรายการนึงครับ เค้าพากลับไปที่ Chernobyl เป็นที่ๆโรงไฟฟ้าเก่าของ
    รัสเซียระเบิดเมื่อเมษา 1986 (2529) เตาปฏิกรณ์ไหม้อยู่ 9 วัน เค้าว่าปริมาณรังสีที่กระจาย
    ออกมาสะสมในสิ่งแวดล้อมคิดเป็นปริมาณประมาณ 100 เท่าของระเบิดที่ฮิโรชิมา ที่เค้าจะ
    พาไปก็คืออยู่ภายในเขต 30 กิโลเมตรโซน ซึ่งต้องขออนุญาตพิเศษ โรงไฟฟ้าอยู่ห่างจากตัว
    เมือง Chernobyl จริงๆประมาณ 15กิโล ในละแวกนั้นก็มีหมู่บ้านอยู่แห่งหนึง ห่างออก
    ไปแค่ไมล์เดียว (น่าจะเป็นเมืองใหม่มากกว่า) เป็นตึกสูงๆจำนวนมากเพิ่งจะสร้างได้ปีเดียว
    ก่อนที่โรงไฟฟ้าจะระเบิดขึ้น ชื่อว่า Pypriat ทางการรัสเซียในตอนนั้นได้อพยพคนออกไป
    ในวันที่สองของการระเบิดซึ่งได้บอกผู้อพยพออกว่าให้เตรียมของให้พออยู่ได้สามวัน แต่ไปๆมาๆ
    ยี่สิบปีผ่านไปก็ยังไม่ได้รับอนุญาตให้กลับไปอยู่เลย เมือง Pypriat เลยกลายเป็นเมืองร้างครับ
    (ดูจากภาพถ่ายทางอากาศจะเห็นตึกและต้นไม้เต็มไปหมด นั่นแหละครับ)
    ที่เมืองนี้เองก็มีชาวบ้านบางคนที่ไม่ได้อยู่ในตึกเป็นบ้านชนบทแถวนั้น คุณตากับคุณยายก็
    แอบกลับเข้ามาอยู่หลังจากเหตุการณ์ผ่านไปแล้วปีนึง แกก็ว่าแกอยู่ได้ แต่เจ้าหน้าที่บอกว่า
    ต้นไม้ต้นไร่สัตว์เลี้ยงก็ถูกปนเปื้อนทั้งหมด

    ข้างล่างจะเห็นมีรูปของเครื่องวัดรังสีสองภาพ รูปแรกจะยืนวัดอยู่ห่างจากเตาที่ระเบิด (รูป)
    ประมาณ 400 เมตร น่าจะเป็นเครื่องไกเกอร์เคาน์เตอร์ อ่านค่าได้ 0.678 ไม่ได้บอกหน่วย
    คราวนี้ ขับรถต่อออกไปอีกสักกิโลนึงเป็นเขตที่เรียกว่า Red Forest แต่ก่อนเป็นป่าไม้สูง
    มีชื่อเรียกอย่างอื่น แต่หลังจากการระเบิดต้นไม้เขตนั้นเปลี่ยนเป็นสีแดงอยู่สามเดือนแล้วก็ตาย
    ลงทั้งหมด ขณะตอนอยู่ในรถก็วัดปริมาณรังสีได้สักสามเท่าของที่ยืนอยู่หน้าโรงไฟฟ้าแล้วครับ
    รูปเครื่องวัดอีกเครื่องนึงสีดำคือเค้าเอาออกมาวัดตอนที่ออกมายืนบริเวณ red forest
    ซึ่งเครื่องวัดอ่านได้ประมาณ 28.xx - 70.xx อย่างที่เห็นในรูป คนที่เป็นพิธีกรไม่รู้สึก
    อะไรแต่ว่าทหารที่พาเข้าไปด้วยบอกว่าเค้ารู้สึกปวดหัวแล้ว หลังจากไปเก็บตัวอย่างดินซึ่งไม่น่า
    จะเกินสิบนาที

    ต่อมาก็พาไปเมืองใกล้สุดที่อยู่นอก exclusion zone เป็นเมืองชื่อว่า Slavutich
    ชาวเมืองส่วนใหญ่ก็อพยพมาจาก Pypriat ของที่ขายในตลาดจะมีการสุ่มมาตรวจโดย
    เจ้าหน้าที่เพื่อดูรังสีตกค้าง มีตอนนึงที่ว่าท่านนายกเทศมนตรีของเมืองพาออกไปเก็บเห็ด ได้มา
    พอสมควร แต่พิธีกรไม่กล้ากินก็เลยเอาไปให้แลบที่ตรวจรังสีของตลาดเมืองนั้นตรวจ ผลคือมี
    ปริมาณรังสีมากเกินไป (แต่ท่านเทศมนตรีก็ยังทานอยู่ประจำ)

    ก็เลยคิดว่าข้อแรก ถ้าเมืองที่ท่านอยู่โดนกัมมันตภาพรังสีเข้าไป ก็ระวังสารตกค้างนะครับ ไม่ใช่
    เฉพาะเห็ดนะ แต่ผลหมากรากไม้ทุกอย่าง รวมทั้งสัตว์ที่ทานพืชเข้าไปด้วย อีกข้อนึงคือเรามอง
    รังสีไม่เห็น เครื่องเตือนกัมมันตภาพรังสีน่าเตือนได้ในระดับนึง ถ้าเราหาพวกไกเกอร์เคาน์เตอร์
    ราคาถูกๆมาติดไว้ ก็จะช่วยได้มาก
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • chernobyl01.jpg
      chernobyl01.jpg
      ขนาดไฟล์:
      68.9 KB
      เปิดดู:
      93
    • chernobyl02.jpg
      chernobyl02.jpg
      ขนาดไฟล์:
      93.1 KB
      เปิดดู:
      105
    • geiger02.jpg
      geiger02.jpg
      ขนาดไฟล์:
      64.4 KB
      เปิดดู:
      114
    • geiger03.jpg
      geiger03.jpg
      ขนาดไฟล์:
      108.4 KB
      เปิดดู:
      119
    • pypriat.jpg
      pypriat.jpg
      ขนาดไฟล์:
      100.8 KB
      เปิดดู:
      108
    • gmap.jpg
      gmap.jpg
      ขนาดไฟล์:
      317.4 KB
      เปิดดู:
      109
  14. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top rowSpan=4><CENTER>[​IMG]
    < รูปภาพที่เกี่ยวข้อง ></CENTER>
    </TD><TD id=HeadName>ยางพารา </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD id=ScienceName>Hevea brasiliensis Muell. Arg. </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD id=HeadName>วงศ์ Euphorbiaceae </TD></TR><TR><TD>กะเต๊าะห์ (มลายู-Peninsular); ยาง , ยางพารา (ทั่วไป)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <HR align=center width="98%" SIZE=1>
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width=130>ลักษณะของพืช</TD><TD> ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นสูงแตกกิ่งก้านสาขาที่เรือนยอด ใบเป็นใบประกอบมีใบย่อยอยู่ 3 ใบขนาดใหญ่ สีเขียว ดอกออกเป็นช่อตามยอดของต้น ดอกมีขนาดเล็ก สีเหลือง ผลโตเท่ากับผลส้ม แต่เป็นรูปสามเหลี่ยมและแบ่งออกเป็น 3 พูใหญ่ ผลเมื่อยังอ่อนเป็นสีเขียว พอแก่เป็นสีน้ำตาลและแตกออก ภายในมีเมล็ดอยู่ 3 เมล็ด เปลือกแข็ง ภายในเป็นเนื้อขาว </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130 height=21>ส่วนที่เป็นพิษ</TD><TD> ใบ เมล็ด </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>สารพิษที่พบ</TD><TD> cyanogenic glycosides </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การเกิดพิษ</TD><TD> มีฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและทางเดินโลหิต ถ้ากินในปริมาณน้อย จะทำให้มึนงง แต่ถ้าในปริมาณที่มากพอ ทำให้หน้าเขียว เล็บเขียว (Cyanosis) เพราะขาดออกซิเจน หายใจขัด และถึงแก่ความตายได้</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การรักษา</TD><TD> -</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การทดสอบความเป็นพิษ</TD><TD> -</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>ที่มาของข้อมูล</TD><TD> -</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top rowSpan=4><CENTER>[​IMG]
    < รูปภาพที่เกี่ยวข้อง ></CENTER>
    </TD><TD id=HeadName>รัก </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD id=ScienceName>Calotropis gigantea R. Br. </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD id=HeadName>วงศ์ Asclepiadaceae </TD></TR><TR><TD>ปอเถื่อน , ป่านเถื่อน [ ภาคเหนือ ]; รัก , รักดอก [ ภาคกลาง ]; Crown Flower, Giant Indian Milk weed.</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <HR align=center width="98%" SIZE=1>
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width=130>ลักษณะของพืช</TD><TD> ไม้พุ่ม ทุกส่วนมีน้ำยางขาว กิ่งอ่อนและปลายยอดมีขนปุย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ โคนใบเว้า ปลายใบแหลม ก้านใบสั้น ดอกสีม่วงหรือสีขาวออกเป้นช่อค่อนข้างเน่น ตามซอกใบหรือปลายกิ่งกลีบดอกรูปกงล้อ มี 5 แฉก ตรงกลางอับเรณูเป็นแผ่นห้าเหลี่ยม เชื่อมติดกับหลอดเกสรผู้ 5 อัน ผลเป็นฝักโค้ง ส่วนกลางพอง ปลายงอ แตกแนวเดียว ผิวเป็นคลื่น เมล็ดสีน้ำตาล มีขนกระจุก</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130 height=21>ส่วนที่เป็นพิษ</TD><TD> น้ำยาง </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>สารพิษที่พบ</TD><TD> cardiac glycosides ได้แก่ calotropin </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การเกิดพิษ</TD><TD> มีฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและทางเดินโลหิต หากเคี้ยวหรือกลืนพืชเข้าไปจะระคายเคืองต่อเยื่อบุด้านในของปากกระเพาะอการ ทำให้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดศีรษะ น้ำยางเมื่อถูกผิวหนังบริเวณเนื้ออ่อนๆ จะทำให้เกิดอาการระคายเคือง คัน บวมแดง เป็นหนอง</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การรักษา</TD><TD> ในรายที่มีอาการรุนแรง ให้รีบนำส่งโรงพยาบาล</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การทดสอบความเป็นพิษ</TD><TD> ค่า LD<SUB>50</SUB> ของสาร calotropin เมื่อให้ทางหลอดเลือดดำในแมวมีค่าเท่ากับ 0.11 มก./กก.น้ำหนักสัตว์</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>ที่มาของข้อมูล</TD><TD> -</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. piakgear24

    piakgear24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    2,696
    ค่าพลัง:
    +44,505
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top rowSpan=4><CENTER>[​IMG]
    < รูปภาพที่เกี่ยวข้อง ></CENTER>

    </TD><TD id=HeadName>กัญชา </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD id=ScienceName>Cannabis sativa L. </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD id=HeadName>วงศ์ Cannabidaceae </TD></TR><TR><TD>กัญชาจีน (ทั่วไป); คุณเช้า (จีน); ปาง (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน); ยานอ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <HR align=center width="98%" SIZE=1>
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width=130>ลักษณะของพืช</TD><TD>เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นเล็ก มีความสูงประมาณ 3-4 ฟุต ลักษณะลำต้นเป็นเหลี่ยมเล็กน้อย ใบมีสีเขียว ลักษณะของใบแตกออกเป็นแฉกๆ ใบหนึ่งราว 5-8 แฉก ขอบใบทุกแฉก เป็นหยัก ใบยาวเรียว ลักษณะของมันจะเหมือนกับใบละหุ่ง ใบฝิ่นต้น และใบมันสำปะหลัง ใบที่อยู่ตอนโคนต้นออกตรงกันข้าม ใบที่อยู่ใกล้ยอดเรียงแบบบันไดเวียน ดอกเป็นสีเหลือง ออกเป็นช่อ ซึ่งมีทั้งดอกช่อตัวผู้และดอกช่อตัวเมีย แต่ละดอกมีใบประดับสีเขียวเข้ม ผลเป็นรูปไข่มีเมล็ดรูปร่างกลม ขนาดเล็กเท่ากับลูกผักชี</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130 height=21>ส่วนที่เป็นพิษ</TD><TD>ปลายกิ่งต้นตัวเมียที่กำลังมีช่อดอก เรียกว่า กะหรี่กัญชา เมล็ด </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>สารพิษที่พบ</TD><TD>resin, THC (tetrahydrocanabinol), propyl THC และ cannabidiol </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การเกิดพิษ</TD><TD>เป็นพืชเสพติด การสูบกัญชาทำให้เกิดอาการระคายเคือง คลื่นไส้ ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ทำให้เกิดอาการประสาทหลอน มีอาการผิดปกติในการเห็นและการได้ยิน ความจำเสื่อม ฤทธิ์ของกัญชาอยู่นานราว 3-5 ชั่วโมง หลังจากนั้น ผู้เสพจะซึมและรู้สึกหิว หัวใจเต้นเร็วและม่านตาขยาย คอแห้ง กระหายน้ำ</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การรักษา</TD><TD>-</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>การทดสอบความเป็นพิษ</TD><TD>-</TD></TR><TR vAlign=top><TD width=130>ที่มาของข้อมูล</TD><TD>-</TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...