เทวดาร่วมสร้างบุญกุศลด้วยการสวดบทมหาเมตตาใหญ่

ในห้อง 'ประสบการณ์ ผลของการสวด' ตั้งกระทู้โดย osaiteaw, 22 กุมภาพันธ์ 2010.

  1. osaiteaw

    osaiteaw เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    51
    ค่าพลัง:
    +277
    ก่อนอื่นต้องขอออกตัวไว้ก่อนเลยว่าผู้เขียนเป็นเพียงสาธุชน ที่ต้องการสั่งสมบุญกุศลด้วยการทำบุญ สวดมนต์ไหว้พระ ทำสมาธิเหมือนเช่นทุก ๆ ท่านในห้องนี้ที่ต้องการเล่าถึงความศักดิ์สิทธิ์ และอานุภาพของการสวดมนต์บทมหาเมตตาใหญ่ ให้ทุกท่านที่กำลังสวดบทนี้อยู่ หรือคิดจะสวดมีความมั่นใจว่าบทสวดอันศักดิ์สิทธิ์นี้สามารถช่วยเหลือวิญญานให้ไปเกิดได้จริง

    ก่อนหน้าที่ข้าพเจ้าจะสวดบทนี้นั้น มีเหตุการณ์ประหลาดเกิดขึ้นบ่อย ๆ โดยมักจะเกี่ยวเนื่องกับสัมภเวสีอยู่เสมอ ซึ่งวิญญานเหล่านั้นล้วนแต่ต้องการกุศล และได้รับความทุกข์ทรมาน

    ข้าพเจ้าเองเมื่อหลุดพ้นจากบ่วงกรรมนั้นมาแล้ว อีกทั้งยังเคยได้ยินถึงอานุภาพความศักดิสิทธิของบทสวดมหาเมตตาใหญ่จากคำบอกเล่าของผู้มีประสบการณ์ในบอร์ดนี้มากมาย

    จึงเริ่มต้นการสวดมนต์บทมหาเมตตาใหญ่มาได้เกือบสามเดือน ซึ่งทุกครั้งที่ข้าพเจ้าจุดธูปบูชาพระรัตนตรัยนั้น ในใจก็อาราธนาสิ่งศักดิสิทธิ์
    ขอพึ่งบารมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตลอดจนเทพ เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอยืมพลังและบารมีเพื่อให้การแผ่เมตตาในครั้งนี้แผ่ไปให้ถึงสัมภเวสีทุกตน

    จากนั้นก็เริ่มสวดพระคาถาชินบัญชร , ยอดพระกัณไตรปิฎก แล้วจึงเริ่มสวดคาถามหาเมตตาใหญ่

    เชื่อไหมคะ ว่าทุกครั้งที่เริ่มสวดก็จะมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ผ่านร่าง มาร่วมสวดด้วยทุกครั้ง เสียงเปลี่ยนไปหมด บางครั้งก็เป็นเสียงคนแก่ เสียงร้องเพลง บ้างก็ไพเราะและเบามาก แต่ทุกองค์ที่มาช่วยล้วนแต่เปี่ยมไปด้วยจิตเมตตา ไม่มีใครแสดงท่าทีหยาบคายเลยแม้แต่องค์เดียว

    เนื่องจากดิฉันเคยศึกษามาบ้าง จึงคุมจิตให้เป็นสมาธิเพราะรู้ดีว่าท่านเพียงแต่มาร่วมสวดด้วยเท่านั้น หลังจากสวดมนต์จนจบ ท่านก็จะหลับตาและกล่าวว่า
    'ขอบารมีองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ช่วยปลดปล่อยวิญญานเหล่านี้ให้ไปเกิดในภพภูมิที่สมควรด้วยเถิด..' จากนั้นครู่ใหญ่จนข้าพเจ้ารู้สึกได้ว่าเขาเปล่านั้นได้ไปหมดแล้ว

    ซึ่งช่วงสวดใหม่ ๆ ท่านก็จะอยู่ไม่นานสวดมนต์เสร็จก็จะพากันกลับไปโดยไม่ได้สนทนาใด ๆ แต่พอสวดบ่อยขึ้นท่านก็มักจะอยู่ต่อและแสดงธรรมบ้างเล็กน้อย
    ซึ่งล้วนแต่เป็นการบอกกล่าวถึงวิธีปฏิบัติธรรมและการสร้างบุญบารมีทั้งสิ้น ถ้าถามเรื่องอื่นนอกเหนือจากนี้ท่านจะไม่ตอบและบอกว่าเป็นเรื่องของกรรม

    หลังจากนั้นข้าพเจ้าก็รู้สึกได้ว่าทุกครั้งที่สวดก็จะมีสิ่งศักดิ์สิทธิมาร่วมสวดด้วยมากขึ้น และครั้งสุดท้ายเจ้าที่ที่บ้านก็มาผ่านร่างข้าพเจ้า เป็นเสียงคนแก่มาก ๆ ซึ่งคิดว่าท่านคงเป็นเจ้าที่มานานหลายร้อยปีแล้ว กล่าวว่า 'ข้าพเจ้าเป็นเจ้าที่แห่งนี้ ขอให้ข้าพเจ้าได้ร่วมสร้างบุญกุศลในครั้งนี้ด้วยเถิด' และได้ร่วมสวดจนเสร็จเสร็จ ซึ่งก่อนที่ท่านจะพากันกลับ เจ้าที่ได้ผ่านร่างข้าพเจ้าและได้กล่าวเอาไว้ว่า

    'บุญกุศลในครั้งนี้จะส่งให้พวกท่านมีความเจริญรุ่งเรือง หากทำได้เยี่ยงนี้ตลอดไปเมื่อสิ้นกายสังขารไปแล้วจะได้เกิดบนสวรรค์ ซึ่งหากปฏิบัติได้ดี บางทีอาจจะไม่ได้กลับมาเวียนว่ายตายเกิดอีก...อันข้าพเจ้านั้นเป็นเพียงเจ้าที่ ตอนยังมีชีวิตอยู่ทำบุญไว้ไม่มากพอ จึงเสวยสุขได้เพียงเท่านี้ วันข้างหน้าข้าพเจ้าคงทำได้เพียงแค่การเฝ้าดูพวกท่าน และหากเป็นไปได้เวลาทำบุญกุศลช่วยเผื่อแผ่มาให้บ้างแค่นั้นก็เพียงพอแล้ว'

    จากนั้นพวกท่านก็พากันกลับ...

    ความจริงแล้วพวกท่านเคยมาสอนธรรมอีกมาก แต่ผู้เขียนละเว้นไว้เพียงให้สาธุชนทุกท่านรู้ว่าเทพ เทวดาเหล่านี้มีตัวตนอยู่จริง ๆ ก็เพียงพอ และขอให้ทุกท่านโปรดมั่นใจว่าอานิสงส์ของการสวดมนต์นั้นประมาณไม่ได้ ถ้าเราตั้งใจ แม้เทพ เทวดาก็ยังร่วมอนุโมทนาสาธุ

    ...ขอให้บุญกุศลนี้เผื่อแผ่ไปถึงบรรพบุรุษ เจ้ากรรมนายเวร เทพ เทวดา เจ้าที่ที่ปกปักรักษา ตลอดจนสัมภเวสีทั้งหลาย ได้บุญกุศลจากธรรมทานในครั้งนี้ด้วยเถิด
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 23 มีนาคม 2010
  2. osaiteaw

    osaiteaw เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    51
    ค่าพลัง:
    +277
    ขอบคุณทุกท่านมากค่ะ ^ ^
     
  3. ธัมมนัตา

    ธัมมนัตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,514
    ค่าพลัง:
    +9,766
    สาธุ ขออนุโมทนาในกุศลจิต

    ในประเด็นเรื่อง เทพ สัมภเวสี โอปปาติกะ เหล่านี้มีอยู่ ในทุกแห่ง มีมากน้อยแล้วแต่เหตุปัจจัย

    การแผ่เมตตาหลวง หรือเมตตาใหญ่นั้นมีผล จริงๆ
    ผลของการสวดนั้น มีอยู่จริง แต่เป้าหมายจริงนั้นอยูที่ตัวเรา
    เพื่อการสลัดออก ละความเป็นตัวตน ด้วยจาคะ คือการให้ผู้อื่น

    ประเด็นการผ่านร่างโดย สัมภเวสี ที่ผ่านมาเห็นหลายคนปล่อยให้ร่างถูกใช้บ่อยๆ จะทำให้จิตไม่เป็นตัวของตัวเอง และเสียเวลาค่อนข้างมาก กว่าจะสลัดหลุด คุมสติไว้จะดีกว่า
    ควรระวังไว้หน่อยนะครับ
     
  4. ลูกท่าน

    ลูกท่าน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    393
    ค่าพลัง:
    +1,649
    อนุโมทนาด้วยเช่นกันครับ
    การกับสั่งสมบุญและการให้
    ขอให้ท่านและครอบครัวประสบแต่ความสุข
    ทั้งทางโลกและทางธรรมครับ
     
  5. มังกรผยอง

    มังกรผยอง Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    24
    ค่าพลัง:
    +62
    อนุโมทนาค่ะ ดีจริงๆเลย แต่ท้อจังค่ะยาวมากมาย
    แต่จะพยายามเริ่ม ^__^
    :cool:
     
  6. j.chaisat

    j.chaisat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    299
    ค่าพลัง:
    +842
    บทเมตตาใหญ่เพื่อทุกคน

    บทสวด เมตตาใหญ่
    เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ
    เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเมฯ ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู
    อามันเตสิ ภิกขะโวติฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง
    ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา
    อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ
    อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา
    ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะฯ
    (๑) สุขัง สุปะติ
    (๒) สุขัง ปะฏิพุชฌะติ
    (๓) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ
    (๔) มะนุสสานัง ปิโย โหติ
    (๕) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ
    (๖) เทวะตา รักขันติ
    (๗) นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ
    (๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ
    (๙) มุขะวัณโณ วิปะสี ทะติ
    (๑๐) อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ
    (๑๑) อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติฯ
    เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ
    พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ
    ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ
    อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    กะตีหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา สัพเพ ปุคคะลา
    สัพเพ อัตตะภาวะปริยาปันนา
    อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
    สัพพา อิตถิโย สัพเพ ปุริสา สัพเพ อะริยา สัพเพ อะนะริยา
    สัพเพ จาตุมมหาราชิกาเทวา สัพเพ ตาวะติงสาเทวา
    สัพเพ ยามาเทวา สัพเพ ตุสิตาเทวา สัพเพ นิมมานะระตีเทวา
    สัพเพ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา สัพเพ อินทา สัพเพ พรหมา
    สัพเพ จตุโลกะปาลา สัพเพ ยมมะราชา สัพเพ ยะมะปาลา
    สัพเพ สิริคุตตะระอมัจจา สาสะนัง อนุรักขันตุ
    อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
    สัพเพ ยักขา สัพเพ กุมภัณฑา สัพเพ ครุทธา
    สัพเพ กินนรา สัพพา กินนะรี สัพเพ นาคา สัพเพ มะนุสสา
    สัพเพ อะมะนุสสา สัพเพ วิริยะปะติกา สัพเพ มิตตา
    สัพเพ อมิตตา สัพเพ มัชฌะตา
    อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
    สัพเพ ติรัฉฉา สัพเพ เปติกา สัพเพ เปตา
    สัพเพ อะสุระกายา สัพเพ เปตาวัตถุโย สัพเพ เปตวิเสยยา
    สัพเพ วินิปาติกา
    อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
    อิมัสมิง จะอาราเม สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา
    อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
    อิมัสสมิง ชมภูทีเป สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา
    อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
    อิมัสสมิง มังคลาจักกะวาเฬ สัพเพ สัตตา
    อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
    ทะสาสุทิสาสุรัฐธิตายะ สัพเพ สัตตา อะเวรา
    อัพยาปัชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
    อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา อะปีฬะนายะ อุปะฆาตัง
    วัชเชตวา อะนุปะฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา อะสันตาเปนะ
    ปะริยาทานัง วัชเชตวา อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา
    อะวิเหสายะ สัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน
    โหนตุมา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุ มา ทุกขิตัตตาติ อิเมหิ
    อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตเต เมตตายะตีติ เมตตาตัง ธัมมัง
    เจตะยะตีติ เจโต สัพพะพยาปาทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ
    วิมุตติ เมตตา จะ เจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ
    เมตตาพรัหมะวิหาระภาวนา นิฏฐิตาฯ

    ผมขออนุญาตพี่ที่ทำขึ้นมานะครับ ผมอยากให้คนที่เข้าดูได้นำไปปฏิบัติเพื่อเป็นบุญเป็นกุศล
    จริงๆ แล้วตัวผมสวดมนต์ทุกวันครับ แต่สวดเพียงบทสรรเสริญ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ แล้วถึงมาแผ่เมตตาธรรมดา (ไม่ใช่เมตตาใหญ่) และสุดท้ายถึงมาแผ่บุญกุศลโดยอาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยก่อนที่จะส่งบุญให้กับเจ้ากรรมนายเวร (พระศรีรัตนตรัยไปได้ทั้งสามภพ) อิทัง ปุญญะ พะลัง
    ขออนุญาตนำมาบอกกล่าวนะครับ
    เล็กๆ น้อยๆ ยังทำบ้าง...ดีกว่ามืดดำไม่ทำเลย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มีนาคม 2010
  7. Pimchawee_tar@hotmail.com

    Pimchawee_tar@hotmail.com เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +138
    บทสวดมนต์นี้ยาวมากใช้เวลานานมาก ไม่ทราบว่าคุณได้สวดทุกบทในทุกวันหรือเปล่าคะ ดิฉันชอบบทสวดนี้มากเพราะไม่ทราบว่าหากเราสวดในทุกวันหรือจะสวดเฉพาะวันพระดีจะช่วยปลดปล่อยวิญญาณต่างๆได้จริงหรือไม่ หรือว่าบุญนี้จะทำให้วิญญาณต่าๆได้รับบุญรวมทั้งเจ้าที่และเทวดาก็ได้รับด้วยใช่หรือเปล่าคะ ขอความรู้ช่วยแนะนำหน่อยค่ะขอบคุณท่านที่เคยสวดแล้วเล่าประสบการณ์ให้ฟังด้วยนะคะ
     
  8. Igiko_L

    Igiko_L เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    1,407
    ค่าพลัง:
    +2,836
    :cool: อนุโมทนาด้วยนะคะ เห็นคุณตั้งใจอยากสวด หนูเลยเอามาให้ หนูเองก็จะเริ่มสวดด้วยคะ เผื่อผลบุญจะทำให้หนูสมหวังในการเรียน สอบเข้ามหาลับในคณะที่อยากเรียน คงไม่ว่าหนูเข้ามายุ่งนะคะ เพราะไม่ได้ขอกับหนู แล้วหนูเข้ามาให้ แฮ่ๆ จริงๆเอามาจากพี่บอล คนเปิดกรรมคะ เพราะพี่บอลจะบอกคนที่ไปเปิดกรรม(คือหนูไม่เคยไปเปิดกรรม ไม่เคยคุยกับพี่บอลหรอก แต่ติดตามอ่านเรื่องพี่บอล เพราะศรัทธาที่พี่บอล ช่วยคนจริงๆ หนูก็จะอยากเป็นคนส่องกรรมช่วยคนให้เหมือนพี่บอล แต่หนูไม่เก่งเหมือนพี่บอลนะคะแบบหนูปลายแถวน้องคนเล็กคะ)
    บทแผ่เมตตา
    พรหมวิหาระภาวนา (มหาเมตตาใหญ่)



    เอวัมเมสุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเมฯ

    ตัตตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะวะโตปัจจัสโสสุงฯ

    ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเส วิตายะภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ

    วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะสุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะ?

    (๑) สุขังสุปะติ (๒) สุขัง ปะฏิพุชฌะติ (๓) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ (๔) มะนุสสานัง ปิโยโหติ

    (๕) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ (๖) เทวะตา รักขันติ (๗) นาสสะ อัคคิ วาวิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ (๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ

    (๙) มุขะวัณโณวิปปะสีทะติ (๑๐) อะสัมมุฬฬะโห กาลัง กะโรติ (๑๑) อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโตพรหมมะโลกูปะโค โหติฯ

    เมตตายะภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะพะหุลีกะตายะ

    ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏิฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะอิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ

    อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ

    อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ

    อัตถิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?

    กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?

    กะตีหาการเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?

    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุติฯ

    สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?


    (๑) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ

    อิเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ


    (๑) สัพเพ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตูติ

    อิเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะสัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพอุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะอะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗)สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขะณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะสัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพปุรัตถิยายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณาอะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขินายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพอุปะริมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘)สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะอะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะอัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะอัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆาสุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวราอัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌาอานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโยอะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะอะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวราอัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖)สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตารายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะริยาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔)สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘)สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะอะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพปัจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖)สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะเทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพอุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔)สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะวินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพอุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะวินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะวินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพเหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๑๑) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติฯ


    อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ


    สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา

    อะปีฬานะยะอุปะฆาตัง วัชเชตวา

    อะนุปิฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา

    อะสันตาเปนะปะริยาทานัง วัชเชตวา

    อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา

    อะวิเหสายะสัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน โหนตุ มา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุมา

    ทุกขิตตาติ อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตตา เมตตายะตีติ เมตตา ตังธัมมัง เจตะยะตีติ

    เจโต สัพพะพะยาปะทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ เมตตา จะเจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    เมตตา พรหมมะวิหาระภาวะนานิฏฐิตา.
    แถมคำแปลด้วย เพราะ ถ้ารู้คำแปล จะทำให้การสวดมนต์ไหลลื่น และไม่ติดขัด
    :cool:
    ข้าพเจ้าได้ฟังมาอย่างนี้ว่า ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ซึ่งเป็นอารามของท่านอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถีฯ ณ โอกาสนั้นและรพผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายฯ พระภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น ได้ตอบรับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญฯ พระผู้มีพระภาคได้ประทาน

    พระดำรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย (คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ) หวังได้แน่นอน (ที่จะรับ) อานิสงส์ ๑๑ ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนต้องเสพ (ทำให้ชำนาญ) แล้ว ทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม (ด้วยวสี ๕ ประการ) ดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ อานิสงส์ ๑๑ ประการ (ของเมตตาเจโตวิมุติ) คืออะไรบ้าง?


    (อานิสงส์ ๑๑ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ คือ)<O:p</O:p

    (๑) นอนหลับเป็นสุข<O:p</O:p

    (๒) ตื่นเป็นสุข
    <O:p</O:p
    (๓) ไม่ฝันร้าย

    <O:p</O:p(๔) เป็นที่รักของมนุษย์ทั้งหลาย
    <O:p</O:p
    (๕) เป็นที่รักของอมนุษย์ทั้งหลาย
    <O:p</O:p
    (๖) เทวดาทั้งหลายเฝ้ารักษา
    <O:p</O:p
    (๗) ไฟ ยาพิษ หรือ ศัสตรา ไม่กล้ำกราย (ในตัว) ของเขา
    <O:p</O:p
    (๘) จิตเป็นสมาธิเร็ว
    <O:p</O:p
    (๙) ผิวหน้าผ่องใส
    <O:p</O:p
    (๑๐) ไม่หลงตาย
    <O:p</O:p
    (๑๑) ยังไม่บรรลุคุณธรรมเบื้องสูง ก็จะบังเกิดในพรหมโลก ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ หวังได้แน่นอนที่จะได้รับ อานิสงส์ ๑๑ ประการของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนส้องเสพ ทำให้ชำนาญ แล้วทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม ด้วยวสี ๕ ประการดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มีอยู่<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปเจาะจง บุคคล มีอยู่
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศที่มีอยู่ฯ<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปโดยไม่เจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศ มีกี่อย่าง?<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มี ๕ อย่าง<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) มี ๗ อย่าง<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศมี ๑๐ อย่างฯ<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) ๕ อย่างมีอะไรบ้าง?
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) ๕ อย่าง คือ

    <O:p</O:p(๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ

    <O:p</O:p(๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) ๗ อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) ๗ อย่าง คือ)
    <O:p</O:p
    (๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ ๑๐ อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ ๑๐ อย่าง คือ)
    <O:p</O:p
    (๑) ประเภทที่ ๑
    <O:p</O:p
    (๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ประเภทที่ ๒
    <O:p</O:p
    (๑) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ประเภทที่ ๓
    <O:p</O:p
    (๑) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ประเภทที่ ๔
    <O:p</O:p
    (๑) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ประเภทที่ ๕
    <O:p</O:p
    (๑) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ประเภทที่ ๖
    <O:p</O:p
    (๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ประเภทที่ ๗
    <O:p</O:p
    (๑) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ประเภทที่ ๘
    <O:p</O:p
    (๑) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ประเภทที่ ๙
    <O:p</O:p
    (๑) ขอปุถุชนขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    <O:p</O:p(๑๐) ประเภทที่ ๑๐
    <O:p</O:p
    (๑) ขอเทวดาขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอผู้มีเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๑) ประเภทที่ ๑๑
    <O:p</O:p
    (๑) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    <O:p</O:p(๙) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๒) ประเภทที่ ๑๒
    <O:p</O:p
    (๑) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงด้วยอาการ ๘ นี้ คือ
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการบีบคั้น ไม่บีบคั้นสัตว์ทั้งปวง ๑
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการฆ่า ไม่ฆ่าสัตว์ทั้งปวง ๑
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการทำให้เดือดร้อน ไม่ทำสัตว์ทั้งปวงให้เดือดร้อน ๑
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการย่ำยี ไม่ย่ำยีสัตว์ทั้งปวง ๑
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการเบียดเบียน ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง ๑
    <O:p</O:p
    ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร อย่าได้มีเวร ๑
    <O:p</O:p
    จงเป็นผู้มีสุข อย่ามีทุกข์ ๑
    <O:p</O:p
    จงมีตนเป็นสุข อย่ามีตนเป็นทุกข์ ๑
    <O:p</O:p
    จิตชื่อว่า เมตตา เพราะรัก ชื่อว่า เจโต เพราะคิดถึง ธรรมนั้น ชื่อ วิมุติ เพราะพ้นจากพยาบาท และ ปริยุฏฐานกิเลสทั้งปวง จิตมีเมตตาด้วย เป็นเจโตวิมุติด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เมตตาเจโตวิมุติฯ<O:p</O:p<!-- google_ad_section_end -->
    อนุโมทนาบุญด้วยนะคะ สำหรับทุกๆท่านที่จะเริ่มสวด :cool:
     
  9. นายดอกบัว

    นายดอกบัว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +5,676
    อนุโมทนาบุญด้วย เป็นเรื่องปกติ ไม่จำเป็นต้องสวดเมตตาใหญ่ สวดอะไรก็ได้ที่สรรเสริญพุทธคุณ พวกนี้ก็มาคอยมุงดูอยู่รอบๆอยู่แล้ว แต่เราไม่เห็นเอง แต่การสวดเมตตาใหญ่ ท่านเล่นยืมบารมีพระพุทธเจ้า บารผู้มีกำลังมาด้วย มันก็เห็นผลมาขึ้น กว่าสวดมนต์ธรรมดา ซึ่งเป็นการสร้างบุญด้วยตนเอง มันอาจจะน้อยตามกำลัง แต่ถ้ายืมมา ผลมันเห็นชัดขึ้นผีได้มากกว่าเดิม ที่เค้าผ่านร่างมาสวด ความจริงเค้าไม่ต้องผ่านร่างหรอก อยู่รอบๆแล้วสวดกับคุณก็ได้ แต่เค้าอยากให้รู้ว่ามีเค้าอยู่นะ เพราะไม่เข้าร่าง คุณก็ไม่รู้ว่าเค้าอยู่ข้างๆใช่มั้ย สำหรับพวกที่เข้าร่างมาสวดด้วย ส่วนใหญ่ ก็เป็นรุกขเทวดา ภุมเทวดา สัมภเวสี มีกำลังบุญไม่มากพอ แต่ถ้ามาก ไม่มีใครมาเข้าร่างคุณหรอก อยู่เฉยๆคอยยกมือโมทนาก็ได้บุญแล้ว


    หลายครั้งผมเห็นคน มันประมาท เวลาเป็นคน มันไม่ทำความดี นินทา ว่าร้าย พูดไร้สาระ เห็นแก่ตัว คอยขัดเวลาคนทำบุญทำกุศล ดูก็รู้ว่าพวกนี้มีอะไรเป็นที่ไปในกาลข้างหน้า และส่วนใหญ่ก็เป็นสัมภเวสีนี่แหละ ใจไม่ค่อยอยากช่วยมันเลย เมื่อเห็นมันตอนเป็นคนมันทำอะไรไว้ แต่อย่างว่าเราช่วยส่งมันไป(ส่วนใหญ่เกือบร้อยเปอร์เซ็นลงนรกหมด)ส่วนพวกที่เป็นเทวดาชั้นล่าง ก็มีความสว่างมากขึ้น มีความสบายมากกว่า
     
  10. wvichakorn

    wvichakorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    3,688
    ค่าพลัง:
    +9,239
    [​IMG]

    ขออนุโมทนาอย่างยิ่งค่ะ
     
  11. Faithfully

    Faithfully เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    656
    ค่าพลัง:
    +2,459
    ขออนุโมทนาสาธุด้วยนะคะ มีโอกาสได้สวดบทนี้เพราะได้รู้จักหลวงพ่อจรัญฯ ค่ะ รู้สึกดีใจที่มีโอกาสได้ทำบุญอีกแบบหนึ่งด้วยนะคะ
     
  12. ต้นบุญ

    ต้นบุญ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2009
    โพสต์:
    246
    ค่าพลัง:
    +239
    ขออนุโมทนาในบุญกุศลนี้ด้วยนะครับ การเจริญเมตตาอยู่บ่อย จิตใจเป็นสุข ผู้คนที่อยู่ใกล้ก็เป็นสุข สรรพสิ่งที่อยู่ใกล้ถึงแม้จะมองไม่เห็นก็เป็นสุข
     
  13. ภควโต

    ภควโต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2010
    โพสต์:
    58
    ค่าพลัง:
    +933
    ขออนุโมทนาสาธุด้วยคนค่ะ เพิ่งสวดคืนนี้เป็นคืนแรก ว่าจะสวดทุกๆๆ วันพระค่ะ บทนนี้ (f)
     
  14. เขามอ

    เขามอ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    321
    ค่าพลัง:
    +539
    ขอ อนุโมทนา และ ขอบคุณมากครับ ที่ แบ่งปันประสบการณ์

    เขามอ
     
  15. กุสินารา

    กุสินารา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    79
    ค่าพลัง:
    +282
    ถามผู้รู้หน่อยค่ะ ถ้าเราสวดแต่ไม่มีสมาธิเลยค่ะ จะเกิดผลร้ายไหมคะ
    ยิ่งถ้าเป็นบทใหญ่ ๆ นะ่ค่ะ
     
  16. ภาชนะธรรม

    ภาชนะธรรม Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กันยายน 2009
    โพสต์:
    43
    ค่าพลัง:
    +58
    อิทังโน ญาตีนัง โหนตุ สุขิตาโหนตุ ญาตะโย
    อนุโมทนาสาธุครับ
     
  17. สุคโต

    สุคโต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กันยายน 2008
    โพสต์:
    279
    ค่าพลัง:
    +987
    ขออนุโมทนาสาธุ...

    เพิ่งเริ่มสวดได้ไม่นาน มีความรู้สึกดี..ดี..

    ขออาราธนาบารมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ช่วยปลดปล่อยวิญญานเหล่านี้ให้ได้ไปเกิดในภพภูมิที่สมควรเถิด

    ขอให้บุญกุศลนี้ แผ่ไปถึง บรรพบุรุษ เจ้ากรรมนายเวร เทพ เทวดา พระภูมิเจ้าที่ ตลอดจนสัมภเวสีทั้งหลาย ได้รับบุญกุศลจากธรรมทานในครั้งนั้ด้วยเถิด
     
  18. สัตตบงกชเหนือน้ำ

    สัตตบงกชเหนือน้ำ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    681
    ค่าพลัง:
    +630
    อนุฃโมทนาด้วยค่ะ อ่านแล้วน้ำตาไหลเลยค่ะ เพิ่งเริ่มสวดวันนี้เป็นวันแรกสี่จบ สาธุๆค่ะ ;20
     

แชร์หน้านี้

Loading...