เสียงธรรม ทดลองอ่าน พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๙

ในห้อง 'พระไตรปิฎกและคัมภีร์' ตั้งกระทู้โดย Kob, 21 มิถุนายน 2009.

  1. หวังในธรรม

    หวังในธรรม Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2010
    โพสต์:
    49
    ค่าพลัง:
    +82
    [FONT=&quot]จุลลกุณาลวรรค
    [/FONT]<link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CXPULTI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} pre {margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:Tahoma; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    27-341 ๑. กุณฑลิกชาดก

    27-342 ๒. วานรชาดก

    27-343 ๓. กุนตินีชาดก

    27-344 ๔. อัมพชาดก

    27-345 ๕. คชกุมภชาดก

    27-346 ๖. เกสวชาดก

    27-347 ๗. อยกูฏชาดก

    27-348 ๘. อรัญญชาดก

    27-349 ๙. สันธิเภทชาดก

    27-350 ๑๐. เทวตาปัญหาชาดก<o>:p></o>:p>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894

    คุณหวังในธรรมอ่านเล่มนี้เสร็จแล้ว
    ขอน้อมอนุโมทนาด้วยค่ะ ขอให้เจริญในธรรมยิ่งๆขึ้นไปค่ะ

    (verygood)[b-wai]
     
  3. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 มิถุนายน 2010
  4. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    (b-ng)

    น้องวีส่งการบ้านครบแล้ว
    พี่กบขออนุโมทนาด้วยค่ะ

    (bb-flower
     
  5. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    (b-flower)



    ขอบคุณค่ะพี่กบ พี่ผ่อน สาธุค่ะ


     
  6. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    ขอบคุณมากค่ะน้องเจง
     
  7. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    ขอบพระคุณมากค่ะพี่แอ๊ด
     
  8. tui21

    tui21 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +6
    27- 162 ๒. สันถวชาดก
    27- 163 ๓. สุสีมชาดก
    27- 164 ๔. คิชฌชาดก
    27- 165 ๕. นกุลชาดก
    27- 166 ๖. อุปสาฬหกชาดก
    27- 167 ๗. สมิทธิชาดก
    27- 168 ๘. สกุณัคฆิชาดก
    27- 169 ๙. อรกชาดก
    27- 170 ๑๐. กกัณฏกชาดก
    27- 172 ๒. ทัททรชาดก
    27- 173 ๓. มักกฏชาดก
    27- 174 ๔. ทุพภิยมักกฏชาดก
    27- 175 ๕. อาทิจจุปัฏฐานชาดก
    27- 176 ๖. กฬายมุฏฐิชาดก
    27- 177 ๗. ตินทุกชาดก
    27- 178 ๘. กัจฉปชาดก
    27- 179 ๙. สตธรรมชาดก
    27- 180 ๑๐. ทุทททชาดก
    27- 182 ๒. สังคามาวจรชาดก
    27- 183 ๓. วาโลทกชาดก
    27- 184 ๔. คิริทัตตชาดก
    27- 185 ๕. อนภิรติชาดก
    27- 186 ๖. ทธิวาหนชาดก
    27- 187 ๗. จตุมัฏฐชาดก
    27- 188 ๘. สีหโกตถุกชาดก
    27- 189 ๙. สีหจัมมชาดก
    27- 190 ๑๐. สีลานิสังสชาดก
    27- 192 ๒. สิริกาฬกัณณิชาดก
    27- 193 ๓. จุลลปทุมชาดก
    27- 194 ๔. มณิโจรชาดก
    27- 195 ๕. ปัพพตูปัตถรชาดก
    27- 196 ๖. วลาหกัสสชาดก
    27- 197 ๗. มิตตามิตตชาดก
    27- 198 ๘. ราธชาดก
    27- 199 ๙. คหปติชาดก
    27- 200 ๑๐. สาธุสีลชาดก
    27- 202 ๒. เกฬิสีลชาดก
    27- 203 ๓. ขันธปริตตชาดก
    27- 204 ๔. วีรกชาดก
    27- 205 ๕. คังเคยยชาดก
    27- 206 ๖. กุรุงคมิคชาดก
    27- 207 ๗. อัสสกชาดก
    27- 208 ๘. สุงสุมารชาดก
    27- 209 ๙. กักกรชาดก
    27- 210 ๑๐. กันทคลกชาดก
    27- 212 ๒. อุจฉิฏฐภัตตชาดก
    27- 213 ๓. ภรุราชชาดก
    27- 214 ๔. ปุณณนทีชาดก
    27- 215 ๕. กัจฉปชาดก
    27- 216 ๖. มัจฉชาดก
    27- 217 ๗. เสคคุชาดก
    27- 218 ๘. กูฏวาณิชชาดก
    27- 219 ๙. ครหิตชาดก
    27- 220 ๑๐. ธัมมัทธชชาดก
    27- 222 ๒. จุลลนันทิยชาดก
    27- 223 ๓. ปุฏภัตตชาดก
    27- 224 ๔. กุมภีลชาดก
    27- 225 ๕. ขันติวรรณนชาดก
    27- 226 ๖. โกสิยชาดก
    27- 227 ๗. คูถปาณกชาดก
    27- 228 ๘. กามนีตชาดก
    27- 229 ๙. ปลายิชาดก
    27- 230 ๑๐. ทุติยปลายิชาดก
    27- 232 ๒. วีณาถูณชาดก
    27- 233 ๓. วิกัณณกชาดก
    27- 234 ๔. อสิตาภุชาดก
    27- 235 ๕. วัจฉนขชาดก
    27- 236 ๖. พกชาดก
    27- 237 ๗. สาเกตชาดก
    27- 238 ๘. เอกปทชาดก
    27- 239 ๙. หริตมาตชาดก
    27- 240 ๑๐. มหาปิงคลชาดก
    27- 242 ๒. สุนขชาดก
    27- 243 ๓. คุตติลชาดก
    27- 244 ๔. วิคติจฉชาดก
    27- 245 ๕. มูลปริยายชาดก
    27- 246 ๖. พาโลวาทชาดก
    27- 247 ๗. ปาทัญชลิชาดก
    27- 248 ๘. กิงสุโกปมชาดก
    27- 249 ๙. สาลกชาดก
    27- 250 ๑๐. กปิชาดก

    ...........................

    ไม่ทราบว่าจะโหลดตรงไหนครับ ช่วยชี้แนะหน่อยครับ ขอบคุณครับ
     
  9. tui21

    tui21 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +6
    หาที่โหลดไม่เจอ

    27- 162 ๒. สันถวชาดก
    27- 163 ๓. สุสีมชาดก
    27- 164 ๔. คิชฌชาดก
    27- 165 ๕. นกุลชาดก
    27- 166 ๖. อุปสาฬหกชาดก
    27- 167 ๗. สมิทธิชาดก
    27- 168 ๘. สกุณัคฆิชาดก
    27- 169 ๙. อรกชาดก
    27- 170 ๑๐. กกัณฏกชาดก
    27- 172 ๒. ทัททรชาดก
    27- 173 ๓. มักกฏชาดก
    27- 174 ๔. ทุพภิยมักกฏชาดก
    27- 175 ๕. อาทิจจุปัฏฐานชาดก
    27- 176 ๖. กฬายมุฏฐิชาดก
    27- 177 ๗. ตินทุกชาดก
    27- 178 ๘. กัจฉปชาดก
    27- 179 ๙. สตธรรมชาดก
    27- 180 ๑๐. ทุทททชาดก
    27- 182 ๒. สังคามาวจรชาดก
    27- 183 ๓. วาโลทกชาดก
    27- 184 ๔. คิริทัตตชาดก
    27- 185 ๕. อนภิรติชาดก
    27- 186 ๖. ทธิวาหนชาดก
    27- 187 ๗. จตุมัฏฐชาดก
    27- 188 ๘. สีหโกตถุกชาดก
    27- 189 ๙. สีหจัมมชาดก
    27- 190 ๑๐. สีลานิสังสชาดก
    27- 192 ๒. สิริกาฬกัณณิชาดก
    27- 193 ๓. จุลลปทุมชาดก
    27- 194 ๔. มณิโจรชาดก
    27- 195 ๕. ปัพพตูปัตถรชาดก
    27- 196 ๖. วลาหกัสสชาดก
    27- 197 ๗. มิตตามิตตชาดก
    27- 198 ๘. ราธชาดก
    27- 199 ๙. คหปติชาดก
    27- 200 ๑๐. สาธุสีลชาดก
    27- 202 ๒. เกฬิสีลชาดก
    27- 203 ๓. ขันธปริตตชาดก
    27- 204 ๔. วีรกชาดก
    27- 205 ๕. คังเคยยชาดก
    27- 206 ๖. กุรุงคมิคชาดก
    27- 207 ๗. อัสสกชาดก
    27- 208 ๘. สุงสุมารชาดก
    27- 209 ๙. กักกรชาดก
    27- 210 ๑๐. กันทคลกชาดก
    27- 212 ๒. อุจฉิฏฐภัตตชาดก
    27- 213 ๓. ภรุราชชาดก
    27- 214 ๔. ปุณณนทีชาดก
    27- 215 ๕. กัจฉปชาดก
    27- 216 ๖. มัจฉชาดก
    27- 217 ๗. เสคคุชาดก
    27- 218 ๘. กูฏวาณิชชาดก
    27- 219 ๙. ครหิตชาดก
    27- 220 ๑๐. ธัมมัทธชชาดก
    27- 222 ๒. จุลลนันทิยชาดก
    27- 223 ๓. ปุฏภัตตชาดก
    27- 224 ๔. กุมภีลชาดก
    27- 225 ๕. ขันติวรรณนชาดก
    27- 226 ๖. โกสิยชาดก
    27- 227 ๗. คูถปาณกชาดก
    27- 228 ๘. กามนีตชาดก
    27- 229 ๙. ปลายิชาดก
    27- 230 ๑๐. ทุติยปลายิชาดก
    27- 232 ๒. วีณาถูณชาดก
    27- 233 ๓. วิกัณณกชาดก
    27- 234 ๔. อสิตาภุชาดก
    27- 235 ๕. วัจฉนขชาดก
    27- 236 ๖. พกชาดก
    27- 237 ๗. สาเกตชาดก
    27- 238 ๘. เอกปทชาดก
    27- 239 ๙. หริตมาตชาดก
    27- 240 ๑๐. มหาปิงคลชาดก
    27- 242 ๒. สุนขชาดก
    27- 243 ๓. คุตติลชาดก
    27- 244 ๔. วิคติจฉชาดก
    27- 245 ๕. มูลปริยายชาดก
    27- 246 ๖. พาโลวาทชาดก
    27- 247 ๗. ปาทัญชลิชาดก
    27- 248 ๘. กิงสุโกปมชาดก
    27- 249 ๙. สาลกชาดก
    27- 250 ๑๐. กปิชาดก
    ..........................................
    ไม่ทราบว่าจะโหลดตรงไหนครับ ขอบคุณครับ
     
  10. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    คลิกตามลิงค์นี้ไปค่ะ http://palungjit.org/threads/เชิญดา...น-เพื่อไปฟัง-ทำแผ่น-mp3.4202/page-2#post34033
     
  11. ปราสนา

    ปราสนา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2010
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +0
    ขอแจ้งข้อผิดพลาดในการอ่านจากไฟล์เสียงอ่านพระไตรปิฎกดังนี้ครับ

    ข้อที่ 1 "ชาดก" ทั้งหมด ท่านผู้อ่านจำเป็นต้องอ่านเนื้อเรื่องในอรรถกถาด้วยครับ ไม่สามารถอ่านเพียงคาถาเพียงอย่างเดียวได้ เพราะในชาดกนั้นเป็นส่วนที่เป็นเรื่องราวในอดีตชาติของบุคคลต่างๆ ที่เกิดขึ้น พระพุทธองค์ทรงนำเรื่องราวนั้นๆ มาเล่า และทรงตรัสพระคาถาที่เป็น "ประโยคการสนทนา" ของเรื่องไว้

    หากผู้อ่านไฟล์เสียงอ่านมาเพียง พระคาถา คนฟังก็จะไม่เข้าใจด้วยครับ ยกตัวอย่างที่พบเจอปัญหา เช่น


    อสิตาภูชาดก มีเสียงอ่านดังนี้

    <CENTER>๔. อสิตาภุชาดก
    </CENTER><CENTER>โลภมากลาภหาย</CENTER><CENTER>
    </CENTER> [๓๑๗] พระองค์นั่นแหละ ได้กระทำเหตุอันนี้ ในบัดนี้ หม่อมฉันปราศจาก
    ความรักในพระองค์แล้ว ความรักนั้น ประสานกันอีกไม่ได้ ดุจงาช้างอัน
    ตัดขาดแล้วด้วยเลื่อย ฉะนั้น.

    [๓๑๘] บุคคลผู้ปรารถนาเกินส่วน ย่อมเสื่อมจากประโยชน์ เพราะความโลภ
    เกินประมาณ และเพราะความมัวเมาอันเกิดจากความโลภเกินประมาณ
    เหมือนเราเสื่อมจากนางอสิตาภู ฉะนั้น.

    จบ อสิตาภุชาดกที่4.


    ไฟล์เสียงของอสิตาภูชาดกนี้ รวมถึงชาดกอื่นๆ มีการอ่านข้อความเพียงเท่านี้ ทำให้ผู้ฟังไม่สามารถเข้าใจได้เลย ว่าข้อความนี้ ใครพูด พูดเพราะอะไร สอนหรือบอกกล่าวใคร อยู่ๆ ก็ขึ้นมาลอยๆ

    เช่น ชาดกนี้ ถ้ามีเพียงการอ่านข้อความข้างต้น คนฟังก็ฟังไม่ออกว่า ใครคือ นางอสิตาภู หรือ "เรา" หรือ "พระองค์" ในที่นี้ คือใคร


    เป็นสิ่งที่น่าเสียดาย ที่เนื้อหาของชาดกหายไป "ทั้งหมด" เหลือแต่คาถา ในทุกๆชาดกครับ


    ตรงกันข้าม หากท่านผู้อ่านอ่านอรรถกถาไปด้วย ผู้ฟังก็จะได้ทราบว่า มีเรื่องราวในชาดกดังนี้


    <CENTER><BIG>อรรถกถา อสิตาภุชาดก</BIG> <CENTER class=D>ว่าด้วย โลภมากลาภหาย</CENTER></CENTER><!--อรรถกถา อสิตาภุชาดกที่ ๔ --> พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภกุมาริกาคนหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า ตฺวเมวทานิมการี ดังนี้.
    ได้ยินว่า ในตระกูลอุปฐากของพระอัครสาวกทั้งสอง ตระกูลหนึ่งในกรุงสาวัตถี มี<WBR>กุมา<WBR>ริ<WBR>กา<WBR>ผู้หนึ่งมีรูปสวย ถึงพร้อมด้วยความงามเป็นเลิศ. นางเจริญวัย ก็ได้ไปสู่ตระกูลซึ่งมีชาติเสมอกัน. สามีของนางไม่พอใจนางเป็นบางอย่าง จึงเที่ยวไปในที่อื่นตามใจชอบ. นางก็ไม่เอาใจใส่ในการที่สามีไม่ใยดีในตนนั้น นิมนต์พระอัครสาวกทั้งสองมาถวายทาน ฟังธรรม ได้ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล.
    ตั้งแต่นั้น นางก็ปล่อยให้เวลาล่วงไปด้วยความสุขในมรรคและผล คิดว่า แม้สามีก็ไม่ยินดีเรา เราก็ไม่มีการงานทางฆราวาส เราจักบวชจึงบอกมารดาบิดา ออกบวชบรรลุอรหัต. การกระทำของนางนั้นได้ปรากฏในหมู่ภิกษุ.
    ครั้นวันหนึ่ง ภิกษุทั้งหลายสนทนากันในโรงธรรมว่า ดูก่อนอาวุโสทั้งหลาย ธิดาของตระกูลโน้นเป็นหญิงแสวงหาประโยชน์ รู้ว่าสามีไม่ใยดี ได้ฟังธรรมของพระอัครสาวก ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผลแล้ว ยังบอกลามารดาบิดาออกบวชอีก บรรลุอรหัตแล้ว ดูก่อนอาวุโสทั้งหลาย กุมาริกานั้นเป็นผู้แสวงหาประโยชน์อย่างนี้.
    พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กุลธิดาผู้นั้นเป็นผู้แสวงหาประโยชน์ในบัดนี้เท่านั้นก็หามิได้ แม้ในกาลก่อนก็เป็นผู้แสวงหาประโยชน์เหมือนกัน ทรงนำเรื่องอดีตมาตรัสเล่า ดังนี้.

    ในอดีตกาล ....(...อ่านต่อที่
     
  12. ปราสนา

    ปราสนา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2010
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +0
    ในที่นี้ ใคร่ขออนุโมทนาด้วยครับ แต่ขอให้มีการแก้ไขเนื้อหาที่หายไปในไฟล์เสียงทุกไฟล์ของชาดกครับ ไม่อย่างนั้น ผู้ฟังจะไม่ทราบเนื้อหาที่มา และฟังไม่เข้าใจทุกชาดก เพราะไม่ทราบว่าใครเป็นใคร คำนี้ใครพูด พูดกับใคร อยู่ๆก็มาลอยๆ

    ข้อที่ 2 ผู้อ่านพระไตรปิฎกบางท่านเสียงเพราะ น่าฟัง น่ารัก แต่บางท่านมีการดัดเสียงให้ดูเพราะ ฟังแล้วไม่เป็นธรรมชาติ และการอ่านที่เร็วไปทำให้พิจารณาเนื้อความไม่ทันครับ

    การฟังพระไตรปิฎกนั้นเป็นการฟังสิ่งที่ต้องใคร่ครวญตาม บางพระสูตรท่านผู้อ่านบางท่านอ่านเร็วเกินไป ทำให้หลายครั้งยังนึกไม่ออกว่าคำๆนั้นหมายถึงอะไร ก็ได้ยินประโยคต่อไปแล้ว ทำให้ต้องกรอกลับมาฟังซ้ำ หรือต้องหยุดเครื่องเล่นเป็นช่วงๆ เพราะธรรมะเป็นสิ่งที่ต้องค่อยๆ คิดตาม แต่ไม่ได้หมายความว่าคิดช้า แต่ทุกๆ พระพุทธดำรัสก็ดี ทุกๆ พระคาถาของพระพุทธสาวกก็ดี ประกอบด้วยความหมายและนัยยะที่ต้องพิจารณาตาม การอ่านเร็วทำให้ฟังไม่ทัน และไม่เข้าใจ


    3. การอ่านเร็วช่วงต้น ลากเสียงช่วงท้าย

    ตัวอย่างเช่น

    "ข้าพเจ้าได้สดับมาดังนนนนี้
    สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหารรรรรรรรร"

    "ดูกรภิกษุทั้งหลายยยยยยย"

    "ท่านอนาถบิณทิกเศรษฐฐฐฐฐฐฐฐฐฐฐฐี"



    การอ่านควรอ่านให้ชัด และมีเสียงสม่ำเสมอทั้งประโยค ไม่เร็วไป ไม่ช้าไป ไม่ดัดเสียง ควรให้เป็นธรรมชาติที่สุด เพราะผู้ฟัง จะได้รับประโยชน์ในการฟังต่อเมื่อ ผู้ฟังธรรมะนั้นๆ ได้ยินคำสอนนั้นๆ ได้ชัดเจน

    ขออภัยที่อาจใช้ข้อความเหมือนเป็นการไม่เคารพท่านที่อ่าน แต่หลังจากที่โหลดไฟล์เสียงมาฟังแล้ว พบสิ่งดังกล่าวครับ จึงขอเรียนเพื่อให้การแจกไฟล์เสียงเป็นธรรมทานนี้ เป็นโครงการที่สมบูรณ์ที่สุด ดีที่สุด มีเสียงที่ชัดเจน มีเนื้อหาที่ชัดเจน และผู้ฟังได้รับประโยชน์จากการฟังมากที่สุดครับ



    จึงเรียนมาเพื่อโปรดแก้ไข โดยเฉพาะในส่วนของการอ่านชาดกที่ไม่มีเนื้อความเลยครับ จำเป็นต้องอ่านอรรถกถา เพื่อให้ทราบเรื่องราวของบุคคล สถานที่ และที่มาของคำพูด พระคาถาประโยคนั้นๆ
     
  13. ปราสนา

    ปราสนา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2010
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +0
    <TABLE class=tborder id=post39937 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt1 id=td_post_39937 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid">"ชาดก" ทั้งหมด ท่านผู้อ่านจำเป็นต้องอ่านเนื้อเรื่องในอรรถกถาด้วยครับ ไม่สามารถอ่านเพียงคาถาเพียงอย่างเดียวได้ เพราะในชาดกนั้นเป็นส่วนที่เป็นเรื่องราวในอดีตชาติของบุคคลต่างๆ ที่เกิดขึ้น พระพุทธองค์ทรงนำเรื่องราวนั้นๆ มาเล่า และทรงตรัสพระคาถาที่เป็น "ประโยคการสนทนา" ของเรื่องไว้

    หากผู้อ่านไฟล์เสียงอ่านมาเพียง พระคาถา คนฟังก็จะไม่เข้าใจด้วยครับ ยกตัวอย่างที่พบเจอปัญหา เช่น


    อสิตาภูชาดก มีเสียงอ่านดังนี้

    <CENTER>๔. อสิตาภุชาดก
    </CENTER><CENTER>โลภมากลาภหาย</CENTER><CENTER>
    </CENTER>[๓๑๗] พระองค์นั่นแหละ ได้กระทำเหตุอันนี้ ในบัดนี้ หม่อมฉันปราศจาก
    ความรักในพระองค์แล้ว ความรักนั้น ประสานกันอีกไม่ได้ ดุจงาช้างอัน
    ตัดขาดแล้วด้วยเลื่อย ฉะนั้น.

    [๓๑๘] บุคคลผู้ปรารถนาเกินส่วน ย่อมเสื่อมจากประโยชน์ เพราะความโลภ
    เกินประมาณ และเพราะความมัวเมาอันเกิดจากความโลภเกินประมาณ
    เหมือนเราเสื่อมจากนางอสิตาภู ฉะนั้น.

    จบ อสิตาภุชาดกที่4.


    ไฟล์เสียงของอสิตาภูชาดกนี้ รวมถึงชาดกอื่นๆ มีการอ่านข้อความเพียงเท่านี้ ทำให้ผู้ฟังไม่สามารถเข้าใจได้เลย ว่าข้อความนี้ ใครพูด พูดเพราะอะไร สอนหรือบอกกล่าวใคร เพราะขึ้นมาลอยๆ

    เช่น ชาดกนี้ ถ้ามีเพียงการอ่านข้อความข้างต้น คนฟังก็ฟังไม่ออกว่า ใครคือ นางอสิตาภู หรือ "เรา" หรือ "พระองค์" ในที่นี้ คือใคร


    เป็นสิ่งที่น่าเสียดาย ที่เนื้อหาของชาดกหายไป "ทั้งหมด" เหลือแต่คาถา ในทุกๆชาดกครับ


    ตรงกันข้าม หากท่านผู้อ่านอ่านอรรถกถาไปด้วย ผู้ฟังก็จะได้ทราบว่า มีเรื่องราวในชาดกดังนี้


    <CENTER><BIG>อรรถกถา อสิตาภุชาดก</BIG> <CENTER class=D>ว่าด้วย โลภมากลาภหาย</CENTER></CENTER>พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภกุมาริกาคนหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า ตฺวเมวทานิมการี ดังนี้.
    ได้ยินว่า ในตระกูลอุปฐากของพระอัครสาวกทั้งสอง ตระกูลหนึ่งในกรุงสาวัตถี มี<WBR>กุมา<WBR>ริ<WBR>กา<WBR>ผู้หนึ่งมีรูปสวย ถึงพร้อมด้วยความงามเป็นเลิศ. นางเจริญวัย ก็ได้ไปสู่ตระกูลซึ่งมีชาติเสมอกัน. สามีของนางไม่พอใจนางเป็นบางอย่าง จึงเที่ยวไปในที่อื่นตามใจชอบ. นางก็ไม่เอาใจใส่ในการที่สามีไม่ใยดีในตนนั้น นิมนต์พระอัครสาวกทั้งสองมาถวายทาน ฟังธรรม ได้ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล.
    ตั้งแต่นั้น นางก็ปล่อยให้เวลาล่วงไปด้วยความสุขในมรรคและผล คิดว่า แม้สามีก็ไม่ยินดีเรา เราก็ไม่มีการงานทางฆราวาส เราจักบวชจึงบอกมารดาบิดา ออกบวชบรรลุอรหัต. การกระทำของนางนั้นได้ปรากฏในหมู่ภิกษุ.
    ครั้นวันหนึ่ง ภิกษุทั้งหลายสนทนากันในโรงธรรมว่า ดูก่อนอาวุโสทั้งหลาย ธิดาของตระกูลโน้นเป็นหญิงแสวงหาประโยชน์ รู้ว่าสามีไม่ใยดี ได้ฟังธรรมของพระอัครสาวก ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผลแล้ว ยังบอกลามารดาบิดาออกบวชอีก บรรลุอรหัตแล้ว ดูก่อนอาวุโสทั้งหลาย กุมาริกานั้นเป็นผู้แสวงหาประโยชน์อย่างนี้.
    พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กุลธิดาผู้นั้นเป็นผู้แสวงหาประโยชน์ในบัดนี้เท่านั้นก็หามิได้ แม้ในกาลก่อนก็เป็นผู้แสวงหาประโยชน์เหมือนกัน ทรงนำเรื่องอดีตมาตรัสเล่า ดังนี้.

    ในอดีตกาล ....(...อ่านต่อที่ <!-- google_ad_section_end -->
    </TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">
    </TD><TD class=alt1 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ในที่นี้ ใคร่ขออนุโมทนาด้วยครับ แต่ขอให้มีการแก้ไขเนื้อหาที่หายไปในไฟล์เสียงทุกไฟล์ของชาดกครับ ไม่อย่างนั้น ผู้ฟังจะไม่ทราบเนื้อหาที่มา และฟังไม่เข้าใจทุกชาดก เพราะไม่ทราบว่าใครเป็นใคร คำนี้ใครพูด พูดกับใคร

    ทุกชาดกจะมีที่มา จะมีเรื่องราว พระไตรปิฎกนั้นจะรวบรวมเพียงข้อความสนทนาเท่านั้น แต่ท่านจะไม่แสดงว่า เนื้อหาเป็นอย่างไร ใครสนทนากับใคร เรื่องอะไร มีที่มาอย่างไร ประชุมชาดกอย่างไร

    จึงจำเป็นต้องอ่านอรรถกถาประกอบด้วยครับ

    ยกอีกตัวอย่างหนึ่ง

    <CENTER>๕. ขราทิยชาดก
    </CENTER><CENTER>ว่าด้วยผู้ล่วงเลยโอวาท
    </CENTER> [๑๕] ดูกรนางเนื้อขราทิยา ฉันไม่สามารถจะสั่งสอนเนื้อตัวนั้น ผู้มี ๘ กีบ
    มีเขาคดแต่โคนจนถึงปลายเขา ล่วงเลยโอวาทเสียตั้ง ๗ วัน.
    <CENTER>จบ ขราทิยาชาดกที่</CENTER>


    ในคำอ่านมีเพียงเท่านี้ ผู้ฟังไม่ทราบเช่นกัน ว่าเกิดอะไรขึ้น

    ตรงกันข้าม อรรถกถา ท่านทำให้ทราบดังนี้

    พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ที่พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ ภิกษุว่ายากรูปหนึ่ง จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า อฏฺฐขุรํ ขราทิเย ดังนี้.
    ได้ยินว่า ภิกษุนั้นว่ายากไม่รับโอวาท. ลำดับนั้น พระศาสดาได้ตรัสถามภิกษุนั้นว่า ดูก่อนภิกษุ ได้ยินว่า เธอว่ายากไม่รับโอวาทจริงหรือ? ภิกษุนั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า จริง พระเจ้าข้า.
    พระศาสดาตรัสว่า แม้ในกาลก่อน เธอก็ไม่รับโอวาทของบัณฑิตทั้งหลาย เพราะความเป็นผู้ว่ายาก จึงติดบ่วงถึงความสิ้นชีวิต แล้วทรงนำอดีตนิทานมา ว่า
    ในอดีตกาล ... (อ่านต่อ
     
  14. ปราสนา

    ปราสนา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2010
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +0
    จากเหตุผลข้างต้น จึงขอให้มีการพิจารณา อ่านอรรถกถา เพื่อทำให้ผู้ฟังทราบด้วยครับ ว่าชาดกนั้น มีเรื่องราวเป็นอย่างไร

    ขออนุโมทนาครับ
     
  15. ปราสนา

    ปราสนา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2010
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +0
    ตัวอย่างความแตกต่าง

    ชาดก ที่มีแต่คาถาเฉย ไม่ได้อ่านอรรถกถา จะมีเพียง


    มหาเวสสันดรชาดก ไม่มีอรรถกถา (อ่านไม่รู้เรื่อง)

     
  16. ปราสนา

    ปราสนา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2010
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +0
    ตัวอย่างความแตกต่าง

    ชาดก ที่มีแต่คาถาเฉย ไม่ได้อ่านอรรถกถา จะมีเพียง


    มหาเวสสันดรชาดก ไม่มีอรรถกถา (อ่านไม่รู้เรื่อง)

     
  17. ปราสนา

    ปราสนา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2010
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +0
    ตัวอย่างความแตกต่าง
    ชาดก ที่มีแต่คาถาเฉย ไม่ได้อ่านอรรถกถา จะมีเพียง

    มหาเวสสันดรชาดก ไม่มีอรรถกถา (อ่านไม่รู้เรื่อง)
     
  18. ปราสนา

    ปราสนา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2010
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +0
    ตัวอย่างความแตกต่าง
    ชาดก ที่มีแต่คาถาเฉย ไม่ได้อ่านอรรถกถา จะมีเพียง

    มหาเวสสันดรชาดก ไม่มีอรรถกถา (อ่านไม่รู้เรื่อง)
     
  19. ปราสนา

    ปราสนา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2010
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +0
    ตัวอย่างความแตกต่าง
    ชาดก ที่มีแต่คาถาเฉย ไม่ได้อ่านอรรถกถา จะมีเพียง

    มหาเวสสันดรชาดก ไม่มีอรรถกถา (อ่านไม่รู้เรื่อง)
    ����Ҵ��� ������к�÷Ѵ �����ûԮ�������� �� - ����ص�ѹ��Ԯ�������� ��

    ตัวอย่าง ของชาดก ที่มีอรรถกถา จะมีเนื้อหา
    อรรถกถา มหาเวสสันดรชาดก (เข้าใจ และรู้เรื่อง)
    ��ö��� �������ѹ�êҴ� ��Ҵ��� �������ѹ�÷ç����筷ҹ����� ˹�ҵ�ҧ��� � �� ��

    จะเห็นได้ว่า ในชาดกที่ไม่มีอรรถกถา ผู้ฟังจะไม่ทราบเลยว่า ใครคือพระนางผุสดี พระเวสสันดรเกิดที่ไหน ใครเป็นผู้ให้พร ๑๐ ประการแก่พระนางผุสดี ถ้าไม่อ่านอรรถกถาจะไม่ทราบเลยว่าเป็นท้าวสักกะเทวราชหรือพระอินทร์ การไม่ทราบเรื่องราว ส่งผลให้ฟังไม่รู้เรื่อง ไม่เกิดประโยชน์ต่อการโยนิโสมนสิการ หรือการเกิดปัญญาพิจารณา ว่าใคร ทำอะไร

    แม้พระมหาชนกชาดก ก็ไม่อาจทราบจากเพียงอรรถกถาได้ว่า พระมหาชนกเพราะอะไรถึงอยู่กลางทะเล ใครคือนางมณีเมขลา นางมณีเมขลาช่วยพระมหาชนกอย่างไร ผู้ฟังจะไม่ทราบหากไม่มีการอ่านอรรถกถา
     
  20. ปราสนา

    ปราสนา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2010
    โพสต์:
    12
    ค่าพลัง:
    +0
    ขออาสาอ่านอรรถกถาชากดครับ หากทีมงานพิจารณาเสียงว่าเหมาะสม

    ขออภัยที่มีเสียงรบกวน และเสียงดังเกินไปครับ เพราะไม่ได้ตั้งค่าไว้ นึกออกปุ๊บก็เอามาอ่านเลย

    ถ้าหากทีมงานเห็นว่าเหมาะสม ปราสนาจะเริ่มอ่านอรรถกถาชาดกให้ตั้งแต่ชาดกที่ 1 เป็นต้นไปครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • VR0056.WAV
      ขนาดไฟล์:
      12.1 MB
      เปิดดู:
      233

แชร์หน้านี้

Loading...