เสียงธรรม เริ่มฝึก อิทธิบาท ๔ และ บารมี ๑๐

ในห้อง 'พระกรรมฐาน ๔๐ กอง' ตั้งกระทู้โดย WebSnow, 11 มิถุนายน 2005.

  1. WebSnow

    WebSnow ผู้ก่อตั้งเว็บพลังจิต ทีมงาน Administrator

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2003
    โพสต์:
    8,695
    กระทู้เรื่องเด่น:
    129
    ค่าพลัง:
    +64,020
    เริ่มฝึกอิทธิบาท 4, บารมี 10



    [​IMG] คำสอน พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) <FORM style="PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0px; MARGIN: 0px; PADDING-TOP: 0px" name=form1 action=search.php method=get>
    <SCRIPT language=JavaScript> var HttpReq = false; if (window.XMLHttpRequest) { HttpReq = new XMLHttpRequest(); // 1st try to create object. //Mozila Firefox or Opera 8.0 or Safari } else { if (window.ActiveXObject) { HttpReq = new ActiveXObject("Microsoft.XMLHTTP"); // 2nd try to create object. //Internet Explorer(IE) if(!HttpReq) { HttpReq = new ActiveXObject("Msxml2.XMLHTTP"); // 3rd try to create object. //Internet Explorer(IE) } } } function getLoad(e, qtable, qfield) { if(navigator.appName.indexOf("Microsoft") != -1) var keyValue = e.keyCode; else if(navigator.appName.indexOf("Netscape") != -1) var keyValue = e.which; if(obj.key.value=="" || keyValue==27) { HideElements(true); }else if(keyValue!=9 && keyValue!=13 && keyValue!=20 && keyValue!=37 && keyValue!=38 && keyValue!=39 && keyValue!=40) { if(HttpReq) { if(obj.key.value.length > 2) { HttpReq.open("GET", "/ezSL/get_list.php?key="+obj.key.value+"&table="+qtable+"&field="+qfield, true); HttpReq.onreadystatechange = getList; HttpReq.send(null); } } VariableReset(); }else if(keyValue==13) { KeyEvents(keyValue); } } function getList() { if(HttpReq.readyState == 4) { var response = HttpReq.responseText; obj.mainDiv.style.visibility = "visible"; obj.mainDiv.style.left = obj.divleft; obj.mainDiv.style.width = obj.key.offsetWidth; obj.div_visible = true; obj.myDiv.innerHTML = response; obj.tdiv = document.getElementById("NumRec").value; } } </SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript> function Init() { this.group = new Array(); this.currentid=""; this.dcounter=0; this.tdiv=0; this.div_visible=false; this.divleft=0; this.keyCode=0; this.key = ""; this.myDiv = ""; this.mainDiv = ""; } var obj = new Init(); function InitComponent(txtId, index) { obj.key = document.getElementById(txtId); obj.mainDiv = document.getElementById(obj.group[index]); var xid = obj.mainDiv.id; obj.myDiv = document.getElementById(xid + xid); var xPos = obj.key; obj.divleft = obj.key.offsetLeft; do { xPos = xPos.offsetParent; obj.divleft += xPos.offsetLeft; } while(xPos.tagName!="BODY"); } function UpDown(e) { if(navigator.appName.indexOf("Microsoft") != -1) var keyValue = e.keyCode; else if(navigator.appName.indexOf("Netscape") != -1) var keyValue = e.which; if(keyValue==38 || keyValue==40) KeyEvents(keyValue); else return false; } function KeyEvents(keyValue) { switch(keyValue) { case 38 : if( (obj.dcounter>=0) && (obj.tdiv>0) ) { if(obj.keyCode==40 && obj.dcounter==0) { obj.dcounter=obj.tdiv; } obj.dcounter = (obj.dcounter>=1) ? obj.dcounter-1 : obj.dcounter; if(obj.dcounter==0) obj.dcounter=obj.tdiv; if(obj.dcounter==obj.tdiv)document.getElementById("key_div_1").className="keyDivOut"; document.getElementById("key_div_"+obj.dcounter).className="keyDivOver"; obj.currentid = "key_div_"+obj.dcounter; if(obj.dcounter < obj.tdiv) { document.getElementById("key_div_"+(obj.dcounter+1)).className="keyDivOut"; } obj.keyCode=38; } break; case 40 : if( (obj.dcounter<=obj.tdiv) && (obj.tdiv>0) ) { if(obj.keyCode==38 && obj.dcounter==10) { obj.dcounter=0; } obj.dcounter = (obj.dcounter < obj.tdiv) ? obj.dcounter+1 : obj.dcounter; obj.currentid = "key_div_"+obj.dcounter; document.getElementById("key_div_"+obj.dcounter).className="keyDivOver"; if(obj.dcounter>1) { document.getElementById("key_div_"+(obj.dcounter-1)).className="keyDivOut"; } if(obj.dcounter==1)document.getElementById("key_div_"+obj.tdiv).className="keyDivOut"; if(obj.dcounter==obj.tdiv) obj.dcounter=0; obj.keyCode=40; } break; case 13 : if(obj.currentid!="") { obj.key.value = document.getElementById(obj.currentid).innerHTML; } HideElements(true); break; } } function HideElements(Focus, divText) { obj.myDiv.innerHTML=""; if(obj.mainDiv.style !== undefined) { obj.mainDiv.style.visibility="hidden"; } VariableReset(); if(Focus) { obj.key.focus(); if(divText) obj.key.value = divText; } obj.div_visible = false; obj.tdiv=0; } function SetStyle(divid, GetLost) { if(obj.currentid!="") document.getElementById(obj.currentid).className = "keyDivOut"; document.getElementById(divid).className = GetLost ? "keyDivOver" : "keyDivOut"; } function VariableReset() { obj.currentid=""; obj.dcounter=0; } //--------------------------------------------- document.onmousedown = HideElements; //--------------------------------------------- </SCRIPT><STYLE type=text/css> .box { border: 1px solid #7F9DB9; font-size:13px; font-family:Arial; text-align:left; padding:6px; width:100%; background-color:#ffffff; z-index: 10000; } .keyDivOver{ background-color:#0066CC; color:#FFFFFF; } .keyDivOut{ background-color:#FFFFFF; color:#000000; } </STYLE><SCRIPT> obj.group[0] = "q_0"; </SCRIPT>


    </FORM><HR>


    จาก หนังสือ คู่มือปฏิบัติพระกรรมฐาน


    ได้พูดถึงวิธีการต่างๆ มามาก ต่อแต่นี้ไปจะพูดถึงกฎบังคับตายตัวในพระพุทธศาสนา อีกอย่างหนึ่ง ที่นักปฏิบัติไม่ว่าระดับใดต้องยึดถือเป็นกฎบังคับสำหรับการปฏิบัติ ถ้าทิ้งอิทธิบาท ๔ นี้ เสียแล้ว ไม่ว่าจะทำอะไรก็ไม่มีทางสำเร็จผลสมความปรารถนา แต่ถ้าท่านผู้ใดทรงการปฏิบัติตาม ในอิทธิบาท ๔ นี้แล้ว สมเด็จพระผู้มีพระภาคตรัสรับรองผลว่า ต้องสำเร็จสมความมุ่งหมาย ทุกประการ แม้ท่านหวังพระนิพพานในชาตินี้ ก็หวังได้แน่นอน ใจความในอิทธิบาท ๔ มีดังนี้
    ๑. ฉันทะ มีความพอใจในปฏิปทาที่ปฏิบัติโดยสม่ำเสมอ
    ๒. วิริยะ มีความพากเพียรพยายามไม่ท้อถอย
    ๓. จิตตะ สนใจในข้อวัตรปฏิบัตินั้นเนืองนิจ
    ๔. วิมังสา ใคร่ครวญพิจารณา ในข้อวัตรปฏิบัตินั้นโดยถูกต้อง

    กฎ ๔ อย่างนี้ท่านเรียกว่า อิทธิบาท แปลว่า เข้าถึงความสำเร็จ หมายความว่าท่าน นักปฏิบัติท่านใดจะปฏิบัติในสมถะหรือวิปัสสนาก็ตาม ถ้าท่านมีแนวความคิดรักใคร่สนใจในข้อวัตรปฏิบัติ มีความพากเพียรไม่ท้อถอย สนใจใคร่อยู่เป็นปกติ พิจารณาสอบสวนทบทวนปฏิปทาทปฏิบัติ แล้ว ว่าเหมาะสมถูกต้องประการใด หรือไม่เพียงใด ต่อไปควรจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะเหมาะสมถูกต้อง ปฏิบัติได้อย่างนี้ สมเด็จพระชินสีห์ตรัสว่า ไม่มีอะไรที่จะทำไม่ได้ไม่สำเร็จ อิทธิบาท ๔ ประการนี้ นักปฏิบัติต้องยึดไว้เป็นหลักปฏิบัติประจำใจ ไม่มีพระอรหันต์องค์ใดที่จะละเลย ไม่ยึดถืออิทธิบาท ๔นี้ เป็นหลักปฏิบัติประจำใจ แม้องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเองก็ทรงยึดอิทธิบาทนี้เป็นกฏในการปฏิบัติ เช่นเดียวกัน ขอท่านนักปฏิบัติทุกท่านจงยึดถืออิทธิบาทนี้เป็นหลักชัยประจำใจไว้เสมอ





    บารมี ๑๐

    จาก หนังสือ พรหมวิหาร ๔


    ๑. ทานบารมี พอใจในการให้ทานอยู่เสมอ เป็นการตัดโลภะ ความโลภ

    ๒. ศีลบารมี พยายามรักษาศีลให้ครบถ้วน เป็นการป้องกันอบายภูมิ

    ๓. เนกขัมมบารมี พยายามระงับนิวรณ์ในเบื้องต้น ตัดสังโยชน์ไปเสียเป็นเรื่องสุดท้าย ป้องกันความวุ่นวายของจิต

    ๔. ปัญญาบารมี ทรงปัญญาไว้ให้ดี ยอมรับนับถือกฎของความเป็นจริง คือการตัดอารมณ์กลุ้ม

    ๕. วิริยบารมี ความพากเพียรต่อสู้กับกิเลส กับอารมณ์ของความชั่ว เป็นการค่อย ๆ ทำลายความชั่วให้พินาศไป

    ๖. ขันติบารมี ต้องมีความอดทนใจ เพราะกำลังใจของเราคบกับกิเลสมานาน ถ้าจะห้ำหั่นมันก็ต้องมีการต่อสู้ต้องอดทน

    ๗. สัจจบารมี ความตั้งใจจริง เราตั้งใจว่าจะทำอะไร ทำอย่างนั้น อย่าท้อถอย ไม่ยอมละ

    ๘. อธิษฐานบารมี ตั้งใจไว้ให้ดีว่า มนุษยโลก เทวโลกและพรหมโลกเป็นทุกข์ ตั้งใจไว้ให้เฉพาะว่าเราจะไปนิพพาน

    ๙. เมตตาบารมี ทำจิตใจของเราให้ดี มีความแช่มชื่น เห็นคนและสัตว์ทั้งโลกเป็นที่รักของเราทั้งหมด เราไม่มีเวรไม่มีภัยกับใครแล้ว

    ๑๐. อุเบกขาบารมี อดทนต่อความอดกลั้นทั้งหลายต่ออุปสรรคทั้งหมด วางเฉย ไม่ต่อสู้ ไม่รุกราน ไม่หวั่นไหว สร้างกำลังใจไว้โดยเฉพาะ แล้วก็วางเฉยในเรื่องของร่างกาย ร่างกายจะเป็นทุกข์ขนาดไหน ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดาของมัน ร่างกายจะแก่ ถือว่ามันเกิดมาเพื่อแก่ ร่างกายจะป่วยไข้ไม่สบาย ถือว่าเกิดมาเพื่อป่วยไข้ไม่สบาย ร่างกายจะปั่นป่วน ถือว่าร่างกายกับเรามันไม่ได้รวมกัน ร่างกายมันเป็นที่อาศัยของเราชั่วคราวเท่านั้น

    นี่บารมี ๑๐ ประการมีอย่างนี้ ถ้าทรงกำลังใจในด้านบารมี ๑๐ ประการไว้ได้ อารมณ์ใจจะเป็นสุข แล้วก็ตามปรารถนา การปฏิบัติตามคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกตอน จะสำเร็จผลทุกอย่าง
    คัดจากหนังสือ ธัมมวิโมกข์ ฉบับที่ ๗๑ หน้า ๑๓๖ (ข้อคิดจากธรรมะ)




    http://www.luangporruesi.com
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. จะเป็นคนดี

    จะเป็นคนดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    60
    ค่าพลัง:
    +267
    ขออนุโมทนาบุญด้วยครับ
    ขอบพระคุณครับ
     
  3. sunton1

    sunton1 สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +0
    สาธุ
     
  4. บัณฑิต ธัมโม

    บัณฑิต ธัมโม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    266
    ค่าพลัง:
    +396
    อนุโมทนาครับ ครับ สาธุๆๆ

    ปัญญา โลกัสมิง ชาคะโร ปัญญา เป็นเครื่องตื่น ในโลก

    ขอฝากห้องสนทนาธรรม สำหรับ ท่านทั้งหลายที่ชอบการพานพบกับบัณฑิตนะครับ..... http://www.udompon.com/chat%20room/chat%20to%20new.html

    ห้องนี้ยังรอกัลยาณธรรมทุกท่านมาร่วม แสดงวิสัยทัศน์ ในทางพระพุทธศาสนาครับ
     
  5. raphiphan

    raphiphan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    511
    ค่าพลัง:
    +426
    โมทนา สาธุครับ
     
  6. Pdon60

    Pdon60 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2009
    โพสต์:
    65
    ค่าพลัง:
    +795
    อนุโมทนา สาธุครับ
     
  7. fortu-o

    fortu-o สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1
    ค่าพลัง:
    +0
    อนุโมทนา สาธุ....
     
  8. Lokudtradham

    Lokudtradham เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    218
    ค่าพลัง:
    +340
    อนุโมทนา สาธุ
     
  9. ผู้ยินดีในความรู้

    ผู้ยินดีในความรู้ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    29
    ค่าพลัง:
    +6
    อนุโมทนา สาธุด้วยคนนะครับ

    เป็นหลักที่เราต้องยึดไว้เสมอ แม้ว่าจะทำการงานใดใด

    ไม่ว่าทางโลกหรือทางธรรม
     
  10. มาลิน

    มาลิน สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    18
    ค่าพลัง:
    +2
    ขออนุโมทนา สาธุ ที่นำธรรมะที่ดีมาเผยแพร่ให้ได้เรียนรู้ จะขอน้อมนำไปศึกษษเพื่อช่วยให้ปฏิบัติได้ดียิ่งๆขึ้นค่ะ
     
  11. ทดแทน

    ทดแทน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    580
    ค่าพลัง:
    +116
    ขอน้อมรับในคำสอนของพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์สาธุครับ
     
  12. mook_me

    mook_me เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    606
    ค่าพลัง:
    +241
    สาธุ อนุโมทนามิ
     
  13. dangcarry

    dangcarry เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,396
    ค่าพลัง:
    +4,307
    สาธุ อนุโมทนามิ
    <!-- / message -->
     
  14. jumpahom

    jumpahom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,747
    ค่าพลัง:
    +11,036
    อนุโมทนาสาธุ
     
  15. Deetom

    Deetom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    355
    ค่าพลัง:
    +825
    อนุโมทนาสาธุ คร้าป
     
  16. opallza

    opallza รัตนาภรณ์ พิมพ์ดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    30
    ค่าพลัง:
    +44
    คร้า

    อนุโมทนาสาทุนะคะ
     
  17. sitbudda

    sitbudda สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มกราคม 2009
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +18
    อนุโมทนาค่ะ
     
  18. ขันติธรรม

    ขันติธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2009
    โพสต์:
    545
    ค่าพลัง:
    +373
    อนุโมทนา สาธุ
     
  19. อนันตะดา

    อนันตะดา สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +12
  20. TaeyoLySiS

    TaeyoLySiS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    383
    ค่าพลัง:
    +278
    สาธุ อนุโมทนา
     

แชร์หน้านี้

Loading...