เรียนรู้สมาธิจากการปฏิบัติ

ในห้อง 'สมเด็จโต พรหมรังสี' ตั้งกระทู้โดย KWANPAT, 16 มีนาคม 2011.

  1. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]หลักปฏิบัติสมาธิกรรมฐาน [/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]


    [FONT=&quot]คำว่า [/FONT][FONT=&quot]“ กรรมฐาน ”[/FONT][FONT=&quot]หมายความว่า [/FONT][FONT=&quot] ที่ตั้งของการทำงานทางจิตใจ[/FONT][FONT=&quot]
    สมถกรรมฐาน[/FONT]
    [FONT=&quot]หมายความว่า [/FONT][FONT=&quot] เป็นที่ตั้งของการทำงานทางจิตใจ
    ซึ่งจะทำให้จิตใจเป็นสมถะ
    [/FONT]

    [FONT=&quot] คือ ให้สงบ[/FONT][FONT=&quot]วิปัสนากรรมฐาน[/FONT][FONT=&quot] หมายความว่า[/FONT][FONT=&quot] ที่ตั้งของการทำงานทางจิตใจ
    อันจะทำใจให้เกิด[/FONT]
    [FONT=&quot]วิปัสนากรรมฐาน คือ ความรู้แจ้งเห้นจริง[/FONT]


    [FONT=&quot]สมถกรรมฐาน เป็นประการแรก ที่จะต้องทำใจให้สงบจากราคะ หรือ โลภะ โทสะ โมหะ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ที่หุ้มห่อจิตใจอยู่เสียก่อน เพื่อให้จิตหลุดพ้นจาก เครื่องหุ้มห่อที่มีอยู่อย่างหนาแน่นทางกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]และจิตใจ[/FONT][FONT=&quot] ต่อจากนั้นจึงดำเนินการเริ่มปฏิบัติในวิปัสนากรรมฐาน คือ เมื่อจิตใจปลอดโปล่งหลุดพ้น
    จากกิเลสที่เป็นเครื่องหุ้มห่ออยู่มากมาย ก็จะเป็นจิตใจที่สิ้นความลำเอียงดังที่ได้กล่าวมาแล้ว
    [/FONT]


    [FONT=&quot] เมื่อจิตใจสิ้นความลำเอียงจะพินิจพิจารณาดูอะไร ก็จะเห็นแจ่มแจ้ง
    ตามเหตุผลความเป็นจริง [/FONT]
    [FONT=&quot]ซึ่งเป็นขั้นวิปัสนากรรมฐานต่อไป[/FONT]


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]กาย คือ พิจาราณาที่ตัวเราแล้ว ตัวเราจะมีการหายใจเข้าออกอย่างเป็นปกติ อันจะขาดเสียมิได้
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ทั้งในเวลาตื่นอยู่และเวลาหลับ ทั้งจะต้องมีอิริยาบถ คือ มีการเดิน การนั่ง การนอน
    [/FONT]
    [FONT=&quot]การยืน การนอน และอริยาบถใดบทหนึ่ง ทั้งรูปกายอันนี้ประกอบด้วยอวัยวะทั้งภายใน
    และภายนอก เช่น เป็นส่วนภายนอกก็มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ที่เป็นส่วนภายใน
    ก็มีเนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไต หัวใจ เป็นต้น[/FONT]



    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]อวัยวะเหล่านี้ ส่วนที่แข็งก็สมมติว่าเป็น [/FONT]
    [FONT=&quot]“ ธาตุดิน ”[/FONT][FONT=&quot]ส่วนที่เอิบอาบ ก็สมมติเรียากว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]“ ธาตุน้ำ ”[/FONT][FONT=&quot] ส่วนที่อบอุ่นสมมติว่า [/FONT][FONT=&quot]“ ธาตุไฟ ”[/FONT][FONT=&quot]
    ส่วนที่พัดไหวก็สมมติเรียกว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]“ ธาตุลม ”[/FONT]

    [FONT=&quot]เมื่อธาตุทั้งหลายยังควบคุมอย่างปกติ [/FONT][FONT=&quot]ร่างกายก็เป็นปกติ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ถ้าเมื่อธาตุทั้งหลายสลาย เช่น เมื่อธาตุลมดับ ลมหายใจเข้า หายใจออกดับ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ร่างกายนี้ก็เป็นร่างกายที่ตายแล้ว ทิ้งไว้ไม่ช้าร่างกายนี้ก็จะเน่าเปื่อย
    [/FONT]
    [FONT=&quot]และส่วนต่างๆ ก็จะสลายไปในที่สุด

    [/FONT]
    - [FONT=&quot]เวทนา คือ เมื่อกายยังมีชิวิต ธาตุทั้งหลายยังควบคุมอยู่ปกติ ก็มีเวทนา
    [/FONT]
    [FONT=&quot]คือ ความเสวยสุข และทุกข์ บางครั้งอารมณ์เป็นกลางๆ ไม่ทุกข์ [/FONT]
    [FONT=&quot], ไม่สุข
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ซึ่งจะรับรู้ได้โดยทางประสาทความรู้สึก เป็นต้น
    [/FONT]

    [FONT=&quot]- จิต เมื่อร่างกายยังควบคุมอยู่ ธาตุทั้งหลายยังดำรงอยู่โดยปกติ ร่างกายนี้
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ก็เป็นที่อาศัยของจิตใจ จิตใจของมนุษย็ก็มีอาการต่างๆ ดังต่อไปนี้
    [/FONT]
    [FONT=&quot]จิตใจที่มีราคะ โทสะ โมหะ เป็นต้น[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      19.1 KB
      เปิดดู:
      101
    • 3.jpg
      3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5 KB
      เปิดดู:
      81
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  2. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]การนั่งสมาธิ [/FONT][FONT=&quot] ตามแบบแผน พระบาลีมีดังนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    [FONT=&quot]สีทะติ บัลลังกัง ( พึงนั่งคู้บังลังก์ขัดสมาธิ เท้าขวา ทับเท้าซ้าย ) อุชุ กายัง ปะณิธายะ [/FONT][FONT=&quot]( ตั้งกายให้ตรง )[/FONT]
    [FONT=&quot]ปะริมุขัง สะติง อุปัฏฐะเปตตะวา ( ตั้งสติไว้ให้มั่นในรอบหน้า ใต้นาภี ๒ นิ้ว )[/FONT]
    [FONT=&quot]โส สะโตวะ อัสสะสะติ ( เป็นผู้สติหายใจเข้าว่า [/FONT][FONT=&quot]“ พุท ” )[/FONT]
    [FONT=&quot] สะโต ปัสสะสะติ ( เป็นผู้มีสติหายใจออกว่า [/FONT][FONT=&quot]“ โธ ” )[/FONT]


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> สติ ได้แก่ ความระลึกได้ คือ นิมิตหมายที่เกาะของจิต เช่น ลมหายใจเข้า หายใจออก
    หรือตั้งที่จุดใต้นาภีห่าง ๒ นิ้ว ส่วนจิต คือ การคิด การรู้ การนึก

    การตั้งสมาธิ ผูกสมาธิ ต้องมีโยนิโสมนสิการ คือ การกำหนดนึกในใจ

    ให้แยบคายให้ทันในอารมณ์ปัจจุบัน ไม่ไห้จิตซัดส่ายไปตามอารมณ์ของอกุศลธรรม
    คือ อารมณ์ที่ไม่ดี อย่าให้เข้ามาขัดขวางได้ อารมณ์ที่ขัดขวางความก้าวหน้าทางสมาธิ
    เรียกว่า
    นิวรณ์ธรรม แปลว่า ธรรมอันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี คือ
    กั้นจิตไม่ให้บรรลุสมาธิ ได้แก่


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ๑. กามฉันทะ ความพอใจรักใคร่ ในกามารมณ์ มีความพอใจในรูป เสียง กลิ่น รส เป็นต้น
    ท่านเปรียบเทียบจิตที่มีนิวรณ์ธรรม เหมือน้ำในลักษณะต่างๆ ที่ใส่ในภาชนะ คือ กามฉันทะ
    ท่านเปรียบเทียบเหมือนน้ำที่ถูกผสมด้วยสีต่างๆ กามฉันทะนี้จัดเป็น ราคะจริต อันเป็นจริต

    ฝ่ายอกุศลจิต ต้องทำลายด้วยการเจริญกายคตาสติกรรมฐาน หรืออสุภกรรมฐาน


    ๒. พยาบาท
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ความขัดเคือง ปองร้ายผู้อื่น ท่านเปรียบเทียบเหมือนน้ำที่ต้มเดือดพล่านเป็นฟอง พยาบาทนี้
    ท่านจัดเป็นโทสะจริต เป็นจริตฝ่ายอกุศลจิต ต้องทำลายด้วยการเจริญเมตตากรรมฐาน คือเห็นใจรักใคร่ใน
    สัตว์ทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายไม่เป็นที่เกลียดชัง


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]-->๓. ถีนมิทธะ ความท้อแท้ ง่วงเหงาหาวนอน เฉื่อยชา เป็นจิตที่มาเหมาะสมแก่การเจริญกรรมฐาน
    ท่านเปรียบเทียบเสมือนน้ำ ที่ถูกปกคลุมด้วยสาหร่าย และจอกแหน ถีนมิทธะ ท่านจัดเข้าในศรัทธาจริต
    เป็นจริตที่ควรสร้างขึ้น เมื่อศรัทธาแล้ว ควรทำยิ่งๆ ขึ้นไป


    ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ
    ได้แก่ ความฟุ้งซ่าน และหงุดหงิด รำคาญใจ วุ่นวายใจ กังวลใจ
    ท่านเปรียบเทียบ เหมือนน้ำที่ลมพัดไหว กระเพื่อมเป็นระลอกคลื่น จัดเป็นวิตกจริต
    อันเป็นจริตฝ่ายอกุศล ต้องทำลายด้วยการเจริญกสิณกรรมฐาน


    ๕. วิจิกิจฉา
    ความลังเลสงสัย ไม่แน่ใจลงได้ ท่านเปรียบเหมือนน้ำขุ่น ด้วยโคลนตม
    และตั้งอยู่ในที่มืด เปรียบเทียบบุรุษที่มีดวงตาต้องการดูเงาหน้าในน้ำ ที่อยู่ในภาชนะลักษณะต่างๆ
    หากเห็นเงาหน้าในตนเอง ฉันไม่ฉันใด ผู้มีจิตนิวรณ์ ธรรมทั้ง ๕ ครอบงำแล้ว ก็มิเห็นคุณธรรมตามความเป็นจริงไม่


    ในนิวรณ์ธรรมทั้ง ๕ ประการนี้ ต้องแก้ด้วย พระกรรมฐาน กายคตาสติบ้าง
    เมตตากรรมฐานบ้าง พระพุทธานุสสติกรรมฐานบ้าง กสิณกรรมฐานบ้าง แก้ด้วยจตุธาตุวัฏถานกรรมฐานบ้าง
    กรรมฐานที่แก้ นิวรณ์ธรรมทั้ง ๕ ประการนี้ โบราณาจารย์ท่านถือว่า เป็นหัวใจ

    พระสมถะกรรมฐาน หัวใจยอดสมถะกรรมฐาน ในพระพุทธานุสสติกรรมฐานนี้ ใช้คำภาวนา
    พุท โธ สองคำนี้ นับว่าเป็นยอดหัวใจยอดสมถะกรรมฐาน เป็นกรรมฐานที่ควรเจริญก่อน
    ควรบริหารรักษาอารมณ์ ให้ติดต่อกันไปด้วยกำลังสติ สัมปชัญญะ พระพุทธานุสสติกรรมฐาน
    ถือว่าเป็นอารมณ์กรรมฐานเบื้องต้น ที่ควรรักษาอารมณ์ไว้



     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 40023.jpg
      40023.jpg
      ขนาดไฟล์:
      11.2 KB
      เปิดดู:
      94
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  3. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ขอบพระคุณหวังว่าคงเป็นประโยชน์แก่ท่านผู้อ่านทุกท่าน
    ไม่มากก็น้อยในเรื่องของการปฏิบัติธรรมค่ะ


    fairy3

     
  4. Sinderking

    Sinderking เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    316
    ค่าพลัง:
    +674
    ถ้าพลิกแพลง ให้เป็นแบบนี้จะได้หรือไม่

    1. นะ มะ พะ ธะ พร้อมนึกแก้วอาโลกสิณที่กลางหน้าผาก
    หรือ
    2. นะ มะ พะ ธะ พร้อมนึกแก้วอาโลกสิณที่กลางนาพี

    ขอบพระคุณครับ
     
  5. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    พัฒน์ว่าจะได้นะค่ะ
    พัฒน์ก็ยังไม่เคยฝึกอาโลกสิน
    เคยโหลดมายังไม่มีเวลาอ่าน

    พัฒน์เองก็จับภาพกำหนดจิต
    ที่หน้าผากดวงตาที่ 3
    หรือที่เขาเรียกว่า จักระที่ 11
    แต่เห็นบางรายการก็เรียกว่าจักระที่ 6
    พัฒน์ก็เน้นฝึกมโนยิทธิ
    หรือกสินไฟเพ่งเปลวเทียนหรือแสงบ้างค่ะ

    ส่วนใหญ่ที่อ่านมาจะเน้นฤทธิ์
    ตาที่ สาม ทิพย์จักษุ ตามที่เคยได้อ่านมาบ้าง
    พัฒน์ก็เคยลองอ่านแล้วฝึกธรรมกาย
    พัฒน์ก็ยังไม่เข้าใจเท่าที่ควร
    คิดว่าอยากเหมือนกัน
    บางอย่างพัฒน์ว่าต้องถูก
    กับจริตคงปฏิบัติด้วยค่ะ

    พัฒน์ก็ว่าสามารถกำหนดได้
    ตามที่เราถนัดประยุกต์ได้คุ่ะ
    แต่ขอให้นึกถึงองค์พระพุทธเจ้า
    เป็นหลักเวลาปฏิบัติ ปล่อยวาง จิตสงบ

    เพราะเรื่องของการกำหนดไว้
    ด้วยองค์คำบริกรรมใด
    ส่วนใหญ่ใช้ในการประคองจิต
    ระลึกถึงและตอนที่เรา
    กำหนดจิตในจุดที่เรากำหนด

    เท่าที่พัฒน์เคยลองไปนั่งฝึก
    กับนักปฏิบัติบางท่านก็ไหว้
    จุดใต้ลิ้นปี่ เอาจิตไปวางแล้ว
    ท่ององค์คำภาวนาของอาจารย์
    ท่านนั้น เคยไปลองนั่งของธรรมกาย
    ตามศูนย์ี่ที่เชิญพระอาจารย์มาบรรยาย
    ก็จุดนาพีเหนือสะดือบริเวณท้อง
    คิดพระแก้วใสในท้อง
    เพราะฉะนั้น พัฒน์คิดว่าสามารถ
    เลือกใช้ได้ตามความถนัด
    ของผู้ปฏิบัิติประยุกต์
    จะทำให้สามารถปฏิบัติได้เร็วค่ะ



    :z9

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มิถุนายน 2012
  6. ยศวดี

    ยศวดี ยายแก่แล้ว*_*

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 เมษายน 2010
    โพสต์:
    4,255
    กระทู้เรื่องเด่น:
    11
    ค่าพลัง:
    +5,796
    ขอบคุณคะ สำหรับความรู้ ที่หาทีสุดไม่ได้ จะนำไประลึกและปฏิบัติคะ
     
  7. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ขอให้ท่านเจริญด้วยสติและสมาธิ
    เป็นผู้เจริญด้วยทางโลกทางธรรมสาธุ

    :z9

     
  8. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ขอให้ท่านเจริญด้วยสติและสมาธิ
    เป็นผู้เจริญด้วยทางโลกทางธรรมสาธุ

    :z9
     
  9. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    หากท่านผู้ใดมีเรื่องราวเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติ
    หรือแนวทางที่สามารถปฏิบัติฝึกสมาธิ
    พระกรรมฐานได้รวดเร็วขึ้น หรือมีประสพการณ์ใดๆ
    ไม่ว่าจะเป็นเรื่องวิธีการฝึกสมาธิแบบใด
    หรือสิ่งใดๆที่ท่านคิดว่า มีประโยชน์
    และได้พบมาก็สามารถเล่า
    หรือบอกต่อท่านอื่นๆ
    เพื่อนำไปใช้ประโยชน์
    และเป็นความรู้ทุกท่าน
    สามารถเล่าหรือแนะนำ
    ผ่านกระทู้นี้ เพื่อเป็นวิทยาธรรม
    แก่ท่านผู้อ่านทั้งหลาย
    สามารถนำไปใช้ปฏิบัติ ไม่มากก็น้อยเพื่อเป็นกำลังใจ
    สำหรับผู้ปฏิบัติมือใหม่ ให้หันมาปฏิบัติธรรม
    เพื่อการช่วยสืบสาน พระพุทธศาสนา ให้สืบต่อไปด้วยค่ะ

    กราบขอบพระคุณล่วงหน้าค่ะ

    dencee:z9
     
  10. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ขอให้อนิสงค์ผลบุญ
    แห่งการอ่านธรรมะ
    เพื่อใช้ในการปฏิบัติ
    ส่งผลให้ท่านเป็นผู้เจริญด้วย
    ทางโลกและทางธรรม
    ซึ่งพระนิพพานในชาติ
    ปัจจุบันด้วยเทอญ.

    ;aa27
     
  11. mashimo

    mashimo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    133
    ค่าพลัง:
    +246
    ขออนุโมทนาด้วยค่ะคุณให้ความรู้ในการทำสมาธิดีมากเลยมีหลายแบบให้เลือกเหมาะแก่จริตแต่ละคนดีดิฉันก็ถนัดแต่พุทธโธแต่ก็ยังไม่ก้าวหน้าไปถึงไหนเลยอาจเป็นเพราะยังไม่ได้ทำอย่างจริงจังและยังไม่เคร่งครัดกับการปฎิบัติมากเพราะนึกยากทำก็ทำพอขี้เกียจก็ไม่ทำแต่จะพยายามแก้ไขเพื่อจะได้พ้นทุกข์กับเขาเร็ว ๆขออนุโมทนาบุญอีกครั้งค่ะ
     
  12. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ขอให้อนิสงค์ผลบุญ
    แห่งการอ่านธรรมะ
    เพื่อใช้ในการปฏิบัติ
    ส่งผลให้ท่านเป็นผู้เจริญด้วย
    ทางโลกและทางธรรม
    ซึ่งพระนิพพานในชาติ
    ปัจจุบันด้วยเทอญ.

    ;aa27
     
  13. namotussa

    namotussa เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    341
    ค่าพลัง:
    +1,470
    อนุโมทนา สาธุ
    ขอบคุณสำหรับสิ่งดีดีที่ได้มอบให้กับผู้ที่เพิ่งจะฝึกสมาธิ เพราะหลายต่อหลายคนก็คล้ายกับคุณที่เริ่มต้นด้วยการนั่งขัดสมาธิ แต่ด้วยความเจ็บปวดเวทนา จึงไม่สามารถที่จะเข้าถึงซึ่งความสงบ ทำให้ต้องละเลิกไปทั้งทั้งที่น่าจะมีวิธีการอื่น ข้อเขียนข้อแนะนำของคุณดีมากมาก ขอขอบคุณมา ณ ที่นี้
     
  14. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ด้วยอนิสงค์ผลบุญแห่งการอ่านของท่าน
    เพื่อใช้ในการปฏิบัติธรรมของท่าน
    ช่วยเป็นปัจจัยหนุนนำให้ท่าน
    และครอบครัวเจริญด้วยโภคทรัพย์
    ธนสมบัติ มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ
    ตราบเท่าเข้าสู่ซึ่งพระนิพพานเทอญ.
    fairy3

     
  15. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    เนื่องในวันสงกรานต์
    ข้าพเจ้าจะสวดมนต์ภาวนา
    ต่อพระพุทธองค์และสิ่งศักดิสิทธิ์ทั้งหลาย
    รวมถึงการสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุ
    ขออุทิศบุญกุศลให้กับพระรัตนตรัย
    และสิ่งศักดิื์์สิทธิ์ทั้งหลาย
    รวมถึงบิดามารดาครูบาอาจารย์
    สรรพสัตว์ทั้งหลาย
    รวมถึงเจ้าทุนนายบุญทั้งหลาย
    และิเพื่อนกัลยานิมิตรทุกท่าน
    ท่านทั้งหลายต้องทุกข์
    ก็ขอให้พ้นจากทุกข์
    ท่านทั้งหลายที่สุข
    ก็ขอให้สุขยิ่งยิ่งขึ้นไป
    ในทุกภพภูมิของท่านเทอญ
    อนุโมทนามิ จากการปฏิบัติธรรม
    ในครั้งนี้ของข้าพเจ้า
    <fieldset class="fieldset"> <legend>รูปขนาดเล็ก</legend> [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG]
    </fieldset>
     
  16. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ขอนำบุญกุศลจากการปฏิบัติธรรม
    สวดมนต์ภาวนาและสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุ
    เมื่อคืนนี้มาฝากให้เพื่อนกัลยานิมิตรทุกท่านค่ะ

    ;aa27

    เริ่มทำการสวดมนต์ประมาณ 21.00 น.
    บทพระคาถาบูชาพระบรมสารีริกธาตุต่างๆ
    สวดทุกพระคาถา พระปริตร ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก
    พระคาถาชินบัญชร พระบารมี 30 ทัศ
    พระคาถาโพธิบาท พระคาถามงคลจักรวาฬใหญ่
    มงคลสูตร พระคาถายันต์เกราะเพชร
    บทมหากรุณาธารณีสูตรพระโพธิสัตว์กวนอิม
    พระคาถาพระเกจิอาจารย์ทั้งหลาย
    รวมถึงองค์เทพเทวดาทั้งหลาย
    กว่าจะเสร็จก็ประมาณเกือบ 24.00 น.
    และได้แผ่บุญกุศลสำหรับทุกท่าน
    ขอนำบุญกุศลมาฝากทุกท่าน
    มา ณ โอกาสวาระดิถีขึ้นปีใหม่ไทยนี้ด้วย
    ขอให้ทุกท่านคิดสิ่งใดสมพรปรารถนาทุกประการ

    [FONT=&quot]สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ
    สัพพะสังฆานุภาเวนะ พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง
    สังฆะระตะนัง ติณณัง ระตะนานัง อานุภาเวนะ
    จะตุราสีติสะสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ
    ปิฎะภัตตะยานุภาเวนะ ชินะสาวะกานุภาเวนะ
    สัพเพ เต โรคา สัพเพ เต อันตะรายา สัพเพ เต
    อุปัททะวา สัพเพ เต ทุนนิมิตตา สัพเพ เต
    อะวะมังคะลา วินัสสันตุ อายุ วัฑฒะโก
    ธะนะวัฑฒะโก สิริวัฑฒะโก ยะสะวัฑฒะโก
    วัณณะวัฑฒะโก สุขะวัฑฒะโก โหตุ สัพพะ ทาฯ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ทุกขะโรคะภะยา เวรา[/FONT][FONT=&quot] โสกา สัตตุ จุปัททะวา
    อะเนกา แนตะรายาปิ วินัสสันตุ จะ เตชะสา
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง[/FONT][FONT=&quot] โสตถิ ภาคยัง สุขัง พะลัง
    สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา
    สะตะวัสสา จะ อายู จะ ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง
    ด้วยอานุภาพแห่งธรรมทั้งปวง
    ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง
    ด้วยอานุภาพแห่ง รัตนะ คือ
    พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ
    ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมขันธ์
    แปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์ ด้วยอานุภาพ
    แห่งพระไตรปิฎก ด้วยอานุภาพ แห่งพระสาวก
    ของพระชินเจ้า ขอโรคทั้งหลายทั้งปวงของท่าน
    ขอภัยทั้งหลายทั้งปวงของท่าน
    ขออันตรายทั้งหลายทั้งปวงของท่าน
    ขออุปสรรคทั้งหลายทั้งปวงของท่าน
    ขอลางร้ายทั้งปวงของท่าน
    ขออวมงคลทั้งหลายทั้งปวงของท่าน จงพินาศไป
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ขอท่าน จงเจริญด้วยอายุ เจริญด้วยทรัพย์
    เจริญด้วยสิริ เจริญด้วยยศ
    [/FONT][FONT=&quot] เจริญด้วยกำลัง
    เจริญด้วยวรรณะ เจริญด้วยสุข ในกาลทั้งปวง
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ขอทุกข์ โรคภัย และเวรทั้งหลาย ขอความโศก
    ศัตรูแลอุปัทวะ
    [/FONT][FONT=&quot]ทั้งหลาย ทั้งอันตราย ทั้งหลาย
    เป็นอเนก จงพินาศไปด้วยเดช
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ขอความชนะ ความสำเร็จแห่งทรัพย์ ลาภ
    ความสวัสดี ความมีโชค ความสุข
    กำลัง สิริ อายุ และวรรณะ
    โภคะ ความเจริญแลเป็นผู้มียศ
    ขอความเป็นผู้มีอายุยืนร้อยปี
    และความสำเร็จกิจในความเป็นอยู่
    จงมีแก่ท่านฯ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา[/FONT]
    [FONT=&quot]สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ[/FONT]
    [FONT=&quot]ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา[/FONT]
    [FONT=&quot]สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ[/FONT]
    [FONT=&quot]ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา[/FONT]
    [FONT=&quot]สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวง
    จงรักษาท่านด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง
    ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ทุกเมื่อฯ
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวง
    จงรักษาท่านอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง
    ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ทุกเมื่อฯ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวง
    จงรักษาท่าน ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง
    ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ทุกเมื่อฯ
    [/FONT]

    fairy3catt12
     
  17. ไอ้ลูกหมา

    ไอ้ลูกหมา Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 เมษายน 2011
    โพสต์:
    115
    ค่าพลัง:
    +26
    อนุโมทนาครับสาธุ
    ...............................................................................................
    รูปเกิดขันธ์จึงเกิด รูปนามเกิดดับ เห็นการเกิดดับเป็นโลกีย์ มองรูปนามเห็นเฉยๆเป็นโลกุตร
     
  18. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ด้วยอนิสงค์ผลบุญแห่งการอ่านของท่าน
    เพื่อใช้ในการปฏิบัติธรรมของท่าน
    ช่วยเป็นปัจจัยหนุนนำให้ท่าน
    และครอบครัวเจริญด้วยโภคทรัพย์
    ธนสมบัติ มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ
    ตราบเท่าเข้าสู่ซึ่งพระนิพพานเทอญ.
    fairy3

     
  19. ไอ้ลูกหมา

    ไอ้ลูกหมา Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 เมษายน 2011
    โพสต์:
    115
    ค่าพลัง:
    +26
    ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆและอนุโมทนากับธรรมทานด้วยครับ
     
  20. ธรรมมนุษย์

    ธรรมมนุษย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2010
    โพสต์:
    397
    ค่าพลัง:
    +1,908
    อัพๆๆๆ
    เดี๋ยวนี้ไม่เห็นคุณพัฒน์เลย ซุ่มอยู่รึเปล่าครับ อิอิ
     

แชร์หน้านี้

Loading...